กระถาง “แก้มลิง” บังคับมะนาวออกลูกนอกฤดู
กระถางแก้มลิงถือเป็นนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปลูกพืชได้หลายชนิด ซึ่งอาศัยหลักการของน้ำใต้ดิน
โดยนำกระถางเปล่าที่ออกแบบให้มีช่องด้านข้างเป็นช่องซึ่งเจาะไว้สูงจากพื้นประมาณ 10 ซม. เพื่อใช้ระบายน้ำออก แล้วนำกระถางที่มีขนาดเล็กกว่าคว่ำลงไปในกระถางใบแรก
พร้อมทั้งติดท่อขนาดสูงกว่ากระถางใบแรกนั้นไว้ใส่น้ำหรือดูดน้ำออก
จากนั้น ใส่หินปิดก้นกระถางใบที่คว่ำเพื่อไม่ให้วัสดุปลูกร่วงลงไปในก้นกระถางใบใหม่ แล้วจึงใส่วัสดุปลูกลงไปจนมิดกระถางใบในหินนี้อาจเลือกเป็นหินก่อสร้างหรือหินภูเขาไฟ ขนาดไม่ใหญ่มาก แล้วตามด้วยดินปลูกเล็กน้อย นำกิ่งพันธุ์ลงปลูกจากนั้นจึงใส่ดินที่เหลือลงไปจนเต็มขอบกระถาง
จากนั้น หาไม้มาค้ำและมัดกิ่งเพื่อป้องกันกิ่งพันธุ์โยกอันอาจทำให้รากขาด สุดท้ายเอาน้ำใส่ทางท่อน้ำจนน้ำไหลออกทางรูระบายน้ำ เสร็จแล้วรดน้ำที่โคนต้น เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการ
นับเป็นวิธีการปลูกอย่างง่าย ๆ ที่ไม่จำเป็นต้องรดน้ำทุกวัน เมื่อผิวดินแห้งดินที่แทรกอยู่ระหว่างหินซึ่งแช่น้ำอยู่จะดูดความชื้นจากน้ำทางด้านล่างขึ้นมาใช้ การปลูกมะนาว
ถือว่าเป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่เกษตรกรหรือคนที่ต้องการทำเกษตรต้องการปลูก ด้วยปัจจัยด้านราคามะนาวที่ค่อนข้างมีราคาแพงมากในช่วงขาดแคลนอย่างช่วงเดือนมีนาคม-เมษายนในแต่ละปีบางปีมะนาวมีราคาสูงถึงผลละ 5-10 บาททีเดียว
จึงมีการปลูกในรูปแบบของมะนาวกระถางขึ้น
เพื่อความสะดวกในการเคลื่อนย้าย และเหมาะกับชาวกรุงที่อยากจะปลูกมะนาวไว้กินเองอีกด้วย เพื่อตอบสนองคนเมืองที่อยากปลูกมะนาว ด้วยวิถีชีวิตของคนเมือง อาจมีเวลาในการดูแลใส่ใจรดน้ำมะนาวได้ไม่สม่ำเสมอ
จึงได้มีการปลูกมะนาวในกระถางแก้มลิงขึ้น
ในช่วงแรกของการปลูกมะนาว รากมะนาวยังเดินไม่เต็มที่ ควรรดน้ำบ่อย ๆ แต่หลังจาก 1 เดือนไปแล้ว รากจะงอกผ่านช่องของชั้นหินไปดูดน้ำที่อยู่ด้านล่าง จึงค่อยเว้นระยะการรดน้ำออกไปได้นานขึ้น
สำหรับการใส่ปุ๋ย สามารถใช้ปุ๋ยของผักไฮโดรโปนิกส์ได้ ส่วนด้านบนให้เสริมด้วยปุ๋ยคอก วิธีนี้จะทำให้โรคแมลงและศัตรูพืชน้อยลง เนื่องจากมะนาวในกระถางแก้มลิงจะมีทรงพุ่มเล็ก ต้นเตี้ย ดูแลรักษาง่าย ทำให้ลดการใช้สารเคมีฆ่าแมลง แต่จะใช้น้ำส้มควันไม้ฉีดพ่นได้อย่างทั่วถึง สามารถเดินดูกำจัดหนอนและเด็ดใบส่วนเสียทิ้งได้รอบต้น
การบังคับมะนาวในกระถางแก้มลิงให้ออกผลนอกฤดูนั้น จะอาศัยเทคนิคง่าย ๆ โดยใช้หลักการว่า ถ้ามะนาวขาดน้ำจะสลัดใบร่วงเพื่อลดการคายน้ำ จนเมื่อกลับให้น้ำใหม่ ก็จะรีบผลิดอกออกผล
ด้วยเหตุนี้ ถ้าต้องการให้มะนาวออกดอก เราก็จะใช้สายยางมาดูดน้ำก้นกระถางจากท่อที่เราโผล่ปากไว้ให้หมด แล้วนำถุงพลาสติกมาคลุม รอประมาณ 5-7 วัน ใบจะเหี่ยวร่วงไป
จากนั้น จะปล่อยน้ำเข้าทางท่อเดิม พร้อมให้ปุ๋ยไฮโดรโปนิกส์ที่เน้นธาตุอาหาร P และ N สูง เมื่อติดดอกติดผลก็เพิ่มปุ๋ย K เข้าไปเพื่อบำรุงลูก หรืออาจใช้ปุ๋ยทั่วไป สูตรเสมอ 15-15-15 ประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ใส่ลงในน้ำ ซึ่งสามารถควบคุมได้ดี และประหยัดปุ๋ยมากกว่าใส่ลงในดิน
หรือ อาจใส่ปุ๋ยคอกจากมูลวัว มูลไก่ มูลหมู ที่มีขายตามท้องตลาดลงในดินด้วย เพื่อให้ได้ผลผลิตสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ที่สำคัญต้องหมั่นตัดแต่งกิ่งให้สั้นแค่ขนาดทรงพุ่มประมาณ 1 เมตร เพราะไม่เช่นนั้นจะไม่มียอดอ่อนให้ติดดอก.
ที่มา : เดลินิวส์
ที่มา
วันจันทร์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2559
การเลี้ยงปลาดุกในโอ่ง โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
วันนี้จะนำสาระความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาดุกในโอ่งแบบง่ายๆ มาให้ได้ดูกันครับ ที่ว่าง่ายๆ ก็คือ หาซื้อ ได้ไม่ยุ่งยาก เลี้ยงเอง กินเอง เหลือก็ขาย แล้วแต่ว่าจะมีเวลาสะดวกครับ สำหรับคนที่จะทำแบบจริงจัง ก็ให้ศึกษาตลาดของปลาดุกให้ดี ว่าเราจะขายที่ไหน หรือจะทำการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์นั้น
ต้องเตรียมอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาดุก ดังนี้
1. เตรียมโอ่งซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 50 เซนติเมตร ส่วนบริเวณก้นโอ่งท่านควรจะมีท่อระบายน้ำเพื่อใช้สำหรับถ่ายน้ำออก
ก่อนที่ท่านจะนำปลาลงมาเลี้ยงนั้นควรจะเอาน้ำใส่โอ่งทิ้งไว้สักระยะหนึ่งและล้างโอ่งซีเมนต์ให้สะอาดไม่ควรให้มีคราบของปูนซีเมนต์หลงเหลืออยู่ หากคราบปูนซีเมนต์ยังออกไม่หมดอาจทำให้ลูกปลาดุกที่ท่านนำมาเลี้ยงตายได้ วิธีขจัดคราบปูนซีเมนต์ควรหาหยวกกล้วยมาแช่ในท่อซีเมนต์ประมาณ 2 สัปดาห์ จึงสามารถเอาหยวกกล้วยออกจากท่อซีเมนต์แล้วล้างภายในโอ่งให้สะอาด จากนั้นก็เริ่มปล่อยน้ำเข้าโอ่งซีเมนต์โดยระดับน้ำที่จะเลี้ยงลูกปลาดุกไม่ควรสูงมาก เพราะลูกปลาดุกจะขึ้นมาหายใจสะดวก ระดับน้ำสูงประมาณ 20 เซนติเมตร ซึ่งในแต่ละท่อปูนซีเมนต์ควรใส่ลูกปลาดุก 80-100 ตัว เป็นจำนวนที่เหมาะสม ในระหว่างอนุบาลลูกปลาดุกท่านควรหาผักตบชวามาใส่บ่อบ้างเพราะลูกปลาดุกจะชอบเข้าไปอาศัยในรากของผักตบชวา ลูกปลาดุกยังได้กินดินหรือแพลงก์ตอนในรากผักตบชวาอีกด้วย
โดยในช่วงอนุบาลลูกปลาดุกจะให้อาหารสำเร็จรูปแบบเม็ด กินอย่างเต็มที่วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น เมื่อเลี้ยงได้ประมาณ 15-20 วัน ก็นำผักตบชวามาหรือพืชน้ำอื่นๆ ใส่ลงไปในบ่อซีเมนต์ประมาณ 5 กอต่อ 5 วัน พร้อมกับปรับระดับน้ำให้สูงขึ้นด้วยและค่อย ๆ ลดอาหารสำเร็จรูปโดยเมื่อปลาหิวจัดมันจะกินผักตบชวา แม้ว่าผักตบชวาจะไม่มีค่าโปรตีนเลยแต่สามารถลดความหิวของปลาได้ ตกเย็นจึงเสริมด้วยอาหารสำเร็จรูป เพื่อเพิ่มโปรตีนให้ปลาในจุดนี้แม้ว่าปลาจะได้อาหารที่มีโปรตีนต่ำ แต่เมื่อปลาอยู่ในพื้นที่ที่จำกัดการเคลื่อนไหวและการใช้พลังงานก็น้อยและในการเลี้ยงปลาแบบนี้จะใช้ระยะเวลาประมาณ 3-4 เดือน จะได้ปลาขนาด 3-4 ตัวต่อกิโลกรัม และในระหว่างการเลี้ยงจะมีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยในการปรับคุณภาพน้ำได้อีกด้วย โดยจะใส่ทุกครั้งหลังจากการเปลี่ยนถ่ายน้ำหรือตามความเหมาะสม น้ำหมักชีวภาพที่นำมาใช้จะผลิตขึ้นมาเองโดยใช้กล้วยน้ำว้า ฟักทอง และมะละกอ อย่างละ 3 กิโลกรัม สับให้ละเอียดจากนั้นนำมาคลุกผสมกับกากน้ำตาล 3 กิโลกรัม หมักปิดฝาทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน จากนั้นนำน้ำสะอาดปริมาตร 9 ลิตร เทใส่ลงไปพร้อมกับคนให้ส่วนผสมดังกล่าวคลุกเคล้าให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้อีกประมาณ 15 วัน หรือเมื่อมีกลิ่นหอมก็สามารถนำไปใช้งานได้ตามความต้องการ
ขั้นตอนการปล่อยพันธุ์ปลา
นำลูกปลาดุกใส่ในภาชนะที่เตรียมไว้ ค่อยๆนำน้ำในโอ่งเติมไปทีละน้อย เพื่อปรับอุณหภูมิค่อยๆปล่อยลูกปลาดุกลงในโอ่งซีเมนต์โดยในช่วงอนุบาลลูกปลาดุกจะให้อาหารสำเร็จรูปแบบเม็ด กินอย่างเต็มที่วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น เมื่อเลี้ยงได้ประมาณ 15-20 วัน ก็นำผักตบชวามาใส่ลงไปในท่อปูนซีเมนต์ประมาณ 5 กอต่อ 5 วัน พร้อมกับปรับระดับน้ำให้สูงขึ้นด้วยและค่อย ๆ ลดอาหารสำเร็จรูปโดยเมื่อปลาหิวจัดมันจะกินผักตบชวา แม้ว่าผักตบชวาจะไม่มีค่าโปรตีนเลยแต่สามารถลดความหิวของปลาได้ ตกเย็นจึงเสริมด้วยอาหารสำเร็จรูป เพื่อเพิ่มโปรตีนให้ปลาในจุดนี้แม้ว่าปลาจะได้อาหารที่มีโปรตีนต่ำ แต่เมื่อปลาอยู่ในพื้นที่ที่จำกัดการเคลื่อนไหวและการใช้พลังงานก็น้อยและในการเลี้ยงปลาแบบนี้จะใช้ระยะเวลาประมาณ 3-4 เดือน จะได้ปลาขนาด 3-4 ตัวต่อกิโลกรัม
และในระหว่างการเลี้ยงจะมีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยในการปรับคุณภาพน้ำได้อีกด้วย โดยจะใส่ทุกครั้งหลังจากการเปลี่ยนถ่ายน้ำหรือตามความเหมาะสม น้ำหมักชีวภาพที่นำมาใช้จะผลิตขึ้นมาเอง
วิธีการเลี้ยงปลาด้วยน้ำหมักชีวภาพ
เมื่อเอาน้ำใส่โอ่งจนได้ที่แล้ว ให้ใส่น้ำหมักชีวภาพลงไปเพียงเล็กน้อยตามความเหมาะสม เพื่อให้จุลินทรีในน้ำหมักไปปรับสภาพน้ำให้เป็นปกติก่อน เมื่อนำปลาลงไปเลี้ยง ค่อยๆสังเกตคุณภาพน้ำและตัวปลาว่ามีอาการผิดปกติใดบ้าง
หากปกติก็ให้ใสน้ำหมักเพียงเล็กน้อยในรอบ 10 วัน หากว่าคุณภาพน้ำเปลี่ยนไปมากก็ให้เพิ่มน้ำหมักชีวภาพให้มากกว่าที่ใส่ปกติ รอบการใส่ก็ให้ถี่ขึ้น ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับจำนวนปลาและขนาดของโอ่งที่ใช้เลี้ยงด้วย
ผลที่ได้
ปลาเจริญเติบโตเร็ว แข็งแรง น้ำไม่มีกลิ่นเหม็น
ภาพบางส่วนจากอินเตอร์เน็ต
โหลด PDF ไฟล์ >>> https://goo.gl/OUXubp , สำรอง >>> https://goo.gl/aLcWWe
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์นั้น
ต้องเตรียมอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาดุก ดังนี้
1. เตรียมโอ่งซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 50 เซนติเมตร ส่วนบริเวณก้นโอ่งท่านควรจะมีท่อระบายน้ำเพื่อใช้สำหรับถ่ายน้ำออก
ก่อนที่ท่านจะนำปลาลงมาเลี้ยงนั้นควรจะเอาน้ำใส่โอ่งทิ้งไว้สักระยะหนึ่งและล้างโอ่งซีเมนต์ให้สะอาดไม่ควรให้มีคราบของปูนซีเมนต์หลงเหลืออยู่ หากคราบปูนซีเมนต์ยังออกไม่หมดอาจทำให้ลูกปลาดุกที่ท่านนำมาเลี้ยงตายได้ วิธีขจัดคราบปูนซีเมนต์ควรหาหยวกกล้วยมาแช่ในท่อซีเมนต์ประมาณ 2 สัปดาห์ จึงสามารถเอาหยวกกล้วยออกจากท่อซีเมนต์แล้วล้างภายในโอ่งให้สะอาด จากนั้นก็เริ่มปล่อยน้ำเข้าโอ่งซีเมนต์โดยระดับน้ำที่จะเลี้ยงลูกปลาดุกไม่ควรสูงมาก เพราะลูกปลาดุกจะขึ้นมาหายใจสะดวก ระดับน้ำสูงประมาณ 20 เซนติเมตร ซึ่งในแต่ละท่อปูนซีเมนต์ควรใส่ลูกปลาดุก 80-100 ตัว เป็นจำนวนที่เหมาะสม ในระหว่างอนุบาลลูกปลาดุกท่านควรหาผักตบชวามาใส่บ่อบ้างเพราะลูกปลาดุกจะชอบเข้าไปอาศัยในรากของผักตบชวา ลูกปลาดุกยังได้กินดินหรือแพลงก์ตอนในรากผักตบชวาอีกด้วย
โดยในช่วงอนุบาลลูกปลาดุกจะให้อาหารสำเร็จรูปแบบเม็ด กินอย่างเต็มที่วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น เมื่อเลี้ยงได้ประมาณ 15-20 วัน ก็นำผักตบชวามาหรือพืชน้ำอื่นๆ ใส่ลงไปในบ่อซีเมนต์ประมาณ 5 กอต่อ 5 วัน พร้อมกับปรับระดับน้ำให้สูงขึ้นด้วยและค่อย ๆ ลดอาหารสำเร็จรูปโดยเมื่อปลาหิวจัดมันจะกินผักตบชวา แม้ว่าผักตบชวาจะไม่มีค่าโปรตีนเลยแต่สามารถลดความหิวของปลาได้ ตกเย็นจึงเสริมด้วยอาหารสำเร็จรูป เพื่อเพิ่มโปรตีนให้ปลาในจุดนี้แม้ว่าปลาจะได้อาหารที่มีโปรตีนต่ำ แต่เมื่อปลาอยู่ในพื้นที่ที่จำกัดการเคลื่อนไหวและการใช้พลังงานก็น้อยและในการเลี้ยงปลาแบบนี้จะใช้ระยะเวลาประมาณ 3-4 เดือน จะได้ปลาขนาด 3-4 ตัวต่อกิโลกรัม และในระหว่างการเลี้ยงจะมีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยในการปรับคุณภาพน้ำได้อีกด้วย โดยจะใส่ทุกครั้งหลังจากการเปลี่ยนถ่ายน้ำหรือตามความเหมาะสม น้ำหมักชีวภาพที่นำมาใช้จะผลิตขึ้นมาเองโดยใช้กล้วยน้ำว้า ฟักทอง และมะละกอ อย่างละ 3 กิโลกรัม สับให้ละเอียดจากนั้นนำมาคลุกผสมกับกากน้ำตาล 3 กิโลกรัม หมักปิดฝาทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน จากนั้นนำน้ำสะอาดปริมาตร 9 ลิตร เทใส่ลงไปพร้อมกับคนให้ส่วนผสมดังกล่าวคลุกเคล้าให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้อีกประมาณ 15 วัน หรือเมื่อมีกลิ่นหอมก็สามารถนำไปใช้งานได้ตามความต้องการ
ขั้นตอนการปล่อยพันธุ์ปลา
นำลูกปลาดุกใส่ในภาชนะที่เตรียมไว้ ค่อยๆนำน้ำในโอ่งเติมไปทีละน้อย เพื่อปรับอุณหภูมิค่อยๆปล่อยลูกปลาดุกลงในโอ่งซีเมนต์โดยในช่วงอนุบาลลูกปลาดุกจะให้อาหารสำเร็จรูปแบบเม็ด กินอย่างเต็มที่วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น เมื่อเลี้ยงได้ประมาณ 15-20 วัน ก็นำผักตบชวามาใส่ลงไปในท่อปูนซีเมนต์ประมาณ 5 กอต่อ 5 วัน พร้อมกับปรับระดับน้ำให้สูงขึ้นด้วยและค่อย ๆ ลดอาหารสำเร็จรูปโดยเมื่อปลาหิวจัดมันจะกินผักตบชวา แม้ว่าผักตบชวาจะไม่มีค่าโปรตีนเลยแต่สามารถลดความหิวของปลาได้ ตกเย็นจึงเสริมด้วยอาหารสำเร็จรูป เพื่อเพิ่มโปรตีนให้ปลาในจุดนี้แม้ว่าปลาจะได้อาหารที่มีโปรตีนต่ำ แต่เมื่อปลาอยู่ในพื้นที่ที่จำกัดการเคลื่อนไหวและการใช้พลังงานก็น้อยและในการเลี้ยงปลาแบบนี้จะใช้ระยะเวลาประมาณ 3-4 เดือน จะได้ปลาขนาด 3-4 ตัวต่อกิโลกรัม
และในระหว่างการเลี้ยงจะมีการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อช่วยในการปรับคุณภาพน้ำได้อีกด้วย โดยจะใส่ทุกครั้งหลังจากการเปลี่ยนถ่ายน้ำหรือตามความเหมาะสม น้ำหมักชีวภาพที่นำมาใช้จะผลิตขึ้นมาเอง
วิธีการเลี้ยงปลาด้วยน้ำหมักชีวภาพ
เมื่อเอาน้ำใส่โอ่งจนได้ที่แล้ว ให้ใส่น้ำหมักชีวภาพลงไปเพียงเล็กน้อยตามความเหมาะสม เพื่อให้จุลินทรีในน้ำหมักไปปรับสภาพน้ำให้เป็นปกติก่อน เมื่อนำปลาลงไปเลี้ยง ค่อยๆสังเกตคุณภาพน้ำและตัวปลาว่ามีอาการผิดปกติใดบ้าง
หากปกติก็ให้ใสน้ำหมักเพียงเล็กน้อยในรอบ 10 วัน หากว่าคุณภาพน้ำเปลี่ยนไปมากก็ให้เพิ่มน้ำหมักชีวภาพให้มากกว่าที่ใส่ปกติ รอบการใส่ก็ให้ถี่ขึ้น ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับจำนวนปลาและขนาดของโอ่งที่ใช้เลี้ยงด้วย
ผลที่ได้
ปลาเจริญเติบโตเร็ว แข็งแรง น้ำไม่มีกลิ่นเหม็น
ภาพบางส่วนจากอินเตอร์เน็ต
โหลด PDF ไฟล์ >>> https://goo.gl/OUXubp , สำรอง >>> https://goo.gl/aLcWWe
วิธีทำมะพร้าวธรรมดาๆ ให้เป็นมะพร้าวกะทิ โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
วิธีทำมะพร้าวธรรมดาๆ ให้เป็นมะพร้าวกะทิ ที่สามารถทำเองได้
วิธีที่ 1 ทำมะพร้าวจากมะพร้าวพันธุ์อะไรก็ได้ ถ้าต้องการให้ลูกออกมาเป็นมะพร้าวกะทิ ก็เอาถุงพลาสติกหุ้มจั่น จั่นก็คือดอกมะพร้าว 1 จั่นคือ 1 ทะลาย จั่นไหนถูกห่อด้วยพลาสติก จั่นนั้นหรือทลายดอกนั้นมันจะพิการ ทั้งนี้ *-* จะต้องห่อตั่งแต่กลีบจั่นเริ่มแย้มบาน? *-* ห่อไปจนกระทั่งมีลูกขนาดลูกหมากจึงค่อยเอาออก? โดยทั่วไปมะพร้าวในทะลายที่ห่อจั่นประมาณ 80-90 % จะเป็นมะพร้าวกะทิ วิธีนี้เป็นการทำมะพร้าวกะทิแบบชั่วคราว มะพร้าวในทะลายอื่น ๆ ที่ไม่ได้ห่อจั่นจะไม่เป็นมะพร้าวกะทิ
วิธีที่ 2 การทำมะพร้าวกะทิแบบถาวร ให้นำมะพร้าวที่เพาะไว้ ที่มีหน่อเหนือเปลือกขึ้นมาราว 30 ซม. แล้วใช้มีดตัดส่วนปลายตรงข้ามกับหน่อให้กะลาขาด จนเห็นเนื้อสีขาวและจาวสีเหลือง ภายในกะลามะพร้าวจากนั้นคว้านเอาจาวที่อยู่กลางกะลาออก เอาดินเหนียวอัดลงไปในกะลาแทนจาวจนเต็มและแน่นพอประมาณ สามารถนำไปปลูกได้ ? มะพร้าวที่ทำวิธีนี้จะเป็นมะพร้าวกะทิประมาณ 50 % หากจะเพิ่มปริมาณ ก็สามารถทำได้โดยให้เอาผลมะพร้าวที่ไม่เป็นมะพร้าวกะทิมาเพาะแล้วทำวิธีการเดียวกับที่กล่าวมานี้ ก็จะทำให้มะพร้าวในต้นใหม่เป็นมะพร้าวกะทิ ถึง 80 -90 % ทีเดียว มะพร้าวทุกพันธุ์สามารถทำมะพร้าวกะทิได้ทั้งสิ้น แต่ถ้าใช้มะพร้าวน้ำหอม ทำมะพร้าวกะทิไม่ดีเพราะมีกลิ่นเหม็นหืน มะพร้าวที่ดีที่สุดในการทำมะพร้าวกะทิคือ มะพร้าวกลาง
“มะพร้าวกะทิ” ติดผลเป็นทะลายปล่อยให้ผลแก่คาต้นก่อน ตัดทะลายลงมา เอาผลแต่ละผลเขย่าฟังดูว่าถ้าไม่มีเสียงน้ำในผลดังกระฉอกเลย หมายถึงมะพร้าวผลนั้นเป็น “มะพร้าวกะทิ” อย่างแน่นอน ไม่ต้องปอกเปลือก หรือทุบ ดูเนื้อในทุกผลให้เสียเวลา ทำหรือฝึกบ่อยๆจึงจะชำนาญ ช่วงแรกอาจมีผิดบ้างเป็น ธรรมดา คนโบราณก็ใช้วิธีนี้เหมือนกัน
ส่วน วิธีผ่ารับประทาน คนเฒ่าคนแก่บอกเคล็ดลับว่า ถ้าต้องการให้เนื้อในของ “มะพร้าวกะทิ” ฟูหรือเหนียวแน่น อร่อย ต้องนวดก่อน โดยเอาผลที่ปอกเปลือกแล้วกระแทกกับพื้นปูนเบาๆรอบๆผลให้ทั่ว กะเวลาจนแน่ใจว่าพอแล้วจึงนำผลไปผ่าครึ่ง จะพบว่าเนื้อในฟูเป็นสีขาวคล้ายปุยฝ้าย ใช้ช้อนตักรับประทานได้เลย รสชาติหวานมันหอมอร่อยมาก
การทำมะพร้าวกะทิแบบถาวร
วิธีนี้ให้นำมะพร้าวที่เพาะไว้ ที่มีหน่อเหนือเปลือกขึ้นมาราว 30 ซม. แล้วใช้มีดตัดส่วนปลายตรงข้ามกับหน่อให้กะลาขาด จนเห็นเนื้อสีขาวและจาวสีเหลือง ภายในกะลามะพร้าวจากนั้นคว้านเอาจาวที่อยู่กลางกะลาออก เอาดินเหนียวอัดลงไปในกะลาแทนจาวจนเต็มและแน่นพอประมาณ สามารถนำไปปลูกได้
มะพร้าวที่ทำวิธีนี้จะเป็นมะพร้าวกะทิประมาณ 50 % หากจะเพิ่มปริมาณ ก็สามารถทำได้โดยให้เอาผลมะพร้าวที่ไม่เป็นมะพร้าวกะทิมาเพาะแล้วทำวิธีการเดียวกับที่กล่าวมานี้ ก็จะทำให้มะพร้าวในต้นใหม่เป็นมะพร้าวกะทิ ถึง 80 -90 % ทีเดียว มะพร้าวทุกพันธุ์สามารถทำมะพร้าวกะทิได้ทั้งสิ้น แต่ถ้าใช้มะพร้าวน้ำหอม ทำมะพร้าวกะทิไม่ดีเพราะมีกลิ่นเหม็นหืน มะพร้าวที่ดีที่สุดในการทำมะพร้าวกะทิคือ มะพร้าวกลาง
ที่มา
วิธีที่ 1 ทำมะพร้าวจากมะพร้าวพันธุ์อะไรก็ได้ ถ้าต้องการให้ลูกออกมาเป็นมะพร้าวกะทิ ก็เอาถุงพลาสติกหุ้มจั่น จั่นก็คือดอกมะพร้าว 1 จั่นคือ 1 ทะลาย จั่นไหนถูกห่อด้วยพลาสติก จั่นนั้นหรือทลายดอกนั้นมันจะพิการ ทั้งนี้ *-* จะต้องห่อตั่งแต่กลีบจั่นเริ่มแย้มบาน? *-* ห่อไปจนกระทั่งมีลูกขนาดลูกหมากจึงค่อยเอาออก? โดยทั่วไปมะพร้าวในทะลายที่ห่อจั่นประมาณ 80-90 % จะเป็นมะพร้าวกะทิ วิธีนี้เป็นการทำมะพร้าวกะทิแบบชั่วคราว มะพร้าวในทะลายอื่น ๆ ที่ไม่ได้ห่อจั่นจะไม่เป็นมะพร้าวกะทิ
วิธีที่ 2 การทำมะพร้าวกะทิแบบถาวร ให้นำมะพร้าวที่เพาะไว้ ที่มีหน่อเหนือเปลือกขึ้นมาราว 30 ซม. แล้วใช้มีดตัดส่วนปลายตรงข้ามกับหน่อให้กะลาขาด จนเห็นเนื้อสีขาวและจาวสีเหลือง ภายในกะลามะพร้าวจากนั้นคว้านเอาจาวที่อยู่กลางกะลาออก เอาดินเหนียวอัดลงไปในกะลาแทนจาวจนเต็มและแน่นพอประมาณ สามารถนำไปปลูกได้ ? มะพร้าวที่ทำวิธีนี้จะเป็นมะพร้าวกะทิประมาณ 50 % หากจะเพิ่มปริมาณ ก็สามารถทำได้โดยให้เอาผลมะพร้าวที่ไม่เป็นมะพร้าวกะทิมาเพาะแล้วทำวิธีการเดียวกับที่กล่าวมานี้ ก็จะทำให้มะพร้าวในต้นใหม่เป็นมะพร้าวกะทิ ถึง 80 -90 % ทีเดียว มะพร้าวทุกพันธุ์สามารถทำมะพร้าวกะทิได้ทั้งสิ้น แต่ถ้าใช้มะพร้าวน้ำหอม ทำมะพร้าวกะทิไม่ดีเพราะมีกลิ่นเหม็นหืน มะพร้าวที่ดีที่สุดในการทำมะพร้าวกะทิคือ มะพร้าวกลาง
“มะพร้าวกะทิ” ติดผลเป็นทะลายปล่อยให้ผลแก่คาต้นก่อน ตัดทะลายลงมา เอาผลแต่ละผลเขย่าฟังดูว่าถ้าไม่มีเสียงน้ำในผลดังกระฉอกเลย หมายถึงมะพร้าวผลนั้นเป็น “มะพร้าวกะทิ” อย่างแน่นอน ไม่ต้องปอกเปลือก หรือทุบ ดูเนื้อในทุกผลให้เสียเวลา ทำหรือฝึกบ่อยๆจึงจะชำนาญ ช่วงแรกอาจมีผิดบ้างเป็น ธรรมดา คนโบราณก็ใช้วิธีนี้เหมือนกัน
ส่วน วิธีผ่ารับประทาน คนเฒ่าคนแก่บอกเคล็ดลับว่า ถ้าต้องการให้เนื้อในของ “มะพร้าวกะทิ” ฟูหรือเหนียวแน่น อร่อย ต้องนวดก่อน โดยเอาผลที่ปอกเปลือกแล้วกระแทกกับพื้นปูนเบาๆรอบๆผลให้ทั่ว กะเวลาจนแน่ใจว่าพอแล้วจึงนำผลไปผ่าครึ่ง จะพบว่าเนื้อในฟูเป็นสีขาวคล้ายปุยฝ้าย ใช้ช้อนตักรับประทานได้เลย รสชาติหวานมันหอมอร่อยมาก
การทำมะพร้าวกะทิแบบถาวร
วิธีนี้ให้นำมะพร้าวที่เพาะไว้ ที่มีหน่อเหนือเปลือกขึ้นมาราว 30 ซม. แล้วใช้มีดตัดส่วนปลายตรงข้ามกับหน่อให้กะลาขาด จนเห็นเนื้อสีขาวและจาวสีเหลือง ภายในกะลามะพร้าวจากนั้นคว้านเอาจาวที่อยู่กลางกะลาออก เอาดินเหนียวอัดลงไปในกะลาแทนจาวจนเต็มและแน่นพอประมาณ สามารถนำไปปลูกได้
มะพร้าวที่ทำวิธีนี้จะเป็นมะพร้าวกะทิประมาณ 50 % หากจะเพิ่มปริมาณ ก็สามารถทำได้โดยให้เอาผลมะพร้าวที่ไม่เป็นมะพร้าวกะทิมาเพาะแล้วทำวิธีการเดียวกับที่กล่าวมานี้ ก็จะทำให้มะพร้าวในต้นใหม่เป็นมะพร้าวกะทิ ถึง 80 -90 % ทีเดียว มะพร้าวทุกพันธุ์สามารถทำมะพร้าวกะทิได้ทั้งสิ้น แต่ถ้าใช้มะพร้าวน้ำหอม ทำมะพร้าวกะทิไม่ดีเพราะมีกลิ่นเหม็นหืน มะพร้าวที่ดีที่สุดในการทำมะพร้าวกะทิคือ มะพร้าวกลาง
ที่มา
ประโยชน์และความสำคัญของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
ใช้แล้วดีจริง จึงอยากแนะนำ
ประโยชน์และความสำคัญของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน
1.ส่งเสริมการเกิดเม็ดดิน
2.เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุแก่ดิน
3.เพิ่มช่องว่างในดินให้การระบายน้ำและอากาศดียิ่งขึ้น
4.ส่งเสริมความพรุนของผิวหน้าดิน ลดการจับตัวเป็นแผ่นแข็งของหน้าดิน
5.ช่วยให้ระบบรากพืชสามารถแดร่กระจายตัวในดินได้กว้าง
6.เพิ่มขีดความสามารถในการดูดซับน้ำในดิน ทำให้ดินชุ่มขึ้น
7.เพิ่มธาตุอาหารพืชให้แก่ดินโดยตรงและเป็นแหล่งอาหารของสัตว์และจุลินทรีย์ดิน
8.เพิ่มศักยภาพการแลกเปลี่ยนประจุบวกของดิน
9.ช่วยลดความเป็นพิษของธาตุอาหารพืชบางชนิดที่มีปริมาณมาเกินไป เช่น อลูมินัม และแมงกานีส
10.ช่วย เพิ่มความต้านทานในการเปลี่ยนแปลงระดับความเป็นกรด-เบส (Buffer capacity) ทำให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นไม่เร็วเกินไปจนเป็นอันตรายต่อพืช
11.ช่วย ควบคุมปริมาณไส้เดือนฝอยในดิน เนื่องจากการใส่ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจะทำให้มีปริมาณจุลินทรีย์ที่สามารถ ขับสารพวกอับคาลอยด์และกรดไขมันที่เป็นพิษต่อไส้เดือนฝอยได้เพิ่มขึ้น
การใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินเป็นส่วนผสมของวัสดุปลูกและวัสดุเพาะกล้าพืช
นอก จากการนำปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินไปใช้เป็นปุ๋ยแล้ว ยังสามารถนำมาใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุปลูกและวัสดุเพาะกล้าพืชได้ วัสดุปลูกพืชหรือสัสดุเพาะกล้าพืชทีมีส่วนผสมของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจะมี ธาตุอาหารพืชอยู่ในปริมาณที่เจือจางและอยู่ในรูปพร้อมใช้ ซึ่งจะค่อยๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับต้นกล้าพืชในการเจริญเติบโตระยะแรกได้อย่างเหมาะสม ประกอบกับปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินมีโครงสร้างที่โปร่งเบาระบายน้ำและอากาศได้ ดี และจุความชื้นได้มาก ดังนั้นต้นกล้าพืชจะสามารถเจริญเติบโตออกรากและชอนไชได้ดีมาก ในการนำมาปลูกพืชจำพวกได้ประดับจะส่งเสริมให้พืชออกดอกได้ดีมากเนื่องจาก จุลินทรีย์ในปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินสามารถสร้างเอนไซม์ฟอสฟาเตสได้ จึงทำให้วัสดุปลูกนั้นมีปริมาณของฟอสฟอรัสเพิ่มสูงขึ้นส่งผลให้พืชออกดอกได้ ดียิ่งขึ้น
คุณสมบัติ ของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินที่นำมาใช้เป็นวัสดุปลูกพืชจะแตกต่างกันตามวัสดุ ที่นำมาใช้ผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน แต่โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินที่ได้จะมีลักษณะที่ คล้ายกัน คือจะมีส่วนประกอบของธาตุอาหารพืชอยู่ในรูปที่พืชสามารถดูดไปใช้ได้ มีส่วนประกอบของธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริมเกือบทุกชนิดที่พืชต้องการ
ที่มา
ประโยชน์และความสำคัญของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน
1.ส่งเสริมการเกิดเม็ดดิน
2.เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุแก่ดิน
3.เพิ่มช่องว่างในดินให้การระบายน้ำและอากาศดียิ่งขึ้น
4.ส่งเสริมความพรุนของผิวหน้าดิน ลดการจับตัวเป็นแผ่นแข็งของหน้าดิน
5.ช่วยให้ระบบรากพืชสามารถแดร่กระจายตัวในดินได้กว้าง
6.เพิ่มขีดความสามารถในการดูดซับน้ำในดิน ทำให้ดินชุ่มขึ้น
7.เพิ่มธาตุอาหารพืชให้แก่ดินโดยตรงและเป็นแหล่งอาหารของสัตว์และจุลินทรีย์ดิน
8.เพิ่มศักยภาพการแลกเปลี่ยนประจุบวกของดิน
9.ช่วยลดความเป็นพิษของธาตุอาหารพืชบางชนิดที่มีปริมาณมาเกินไป เช่น อลูมินัม และแมงกานีส
10.ช่วย เพิ่มความต้านทานในการเปลี่ยนแปลงระดับความเป็นกรด-เบส (Buffer capacity) ทำให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นไม่เร็วเกินไปจนเป็นอันตรายต่อพืช
11.ช่วย ควบคุมปริมาณไส้เดือนฝอยในดิน เนื่องจากการใส่ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจะทำให้มีปริมาณจุลินทรีย์ที่สามารถ ขับสารพวกอับคาลอยด์และกรดไขมันที่เป็นพิษต่อไส้เดือนฝอยได้เพิ่มขึ้น
การใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินเป็นส่วนผสมของวัสดุปลูกและวัสดุเพาะกล้าพืช
นอก จากการนำปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินไปใช้เป็นปุ๋ยแล้ว ยังสามารถนำมาใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุปลูกและวัสดุเพาะกล้าพืชได้ วัสดุปลูกพืชหรือสัสดุเพาะกล้าพืชทีมีส่วนผสมของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินจะมี ธาตุอาหารพืชอยู่ในปริมาณที่เจือจางและอยู่ในรูปพร้อมใช้ ซึ่งจะค่อยๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับต้นกล้าพืชในการเจริญเติบโตระยะแรกได้อย่างเหมาะสม ประกอบกับปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินมีโครงสร้างที่โปร่งเบาระบายน้ำและอากาศได้ ดี และจุความชื้นได้มาก ดังนั้นต้นกล้าพืชจะสามารถเจริญเติบโตออกรากและชอนไชได้ดีมาก ในการนำมาปลูกพืชจำพวกได้ประดับจะส่งเสริมให้พืชออกดอกได้ดีมากเนื่องจาก จุลินทรีย์ในปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินสามารถสร้างเอนไซม์ฟอสฟาเตสได้ จึงทำให้วัสดุปลูกนั้นมีปริมาณของฟอสฟอรัสเพิ่มสูงขึ้นส่งผลให้พืชออกดอกได้ ดียิ่งขึ้น
คุณสมบัติ ของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินที่นำมาใช้เป็นวัสดุปลูกพืชจะแตกต่างกันตามวัสดุ ที่นำมาใช้ผลิตปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน แต่โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างของปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินที่ได้จะมีลักษณะที่ คล้ายกัน คือจะมีส่วนประกอบของธาตุอาหารพืชอยู่ในรูปที่พืชสามารถดูดไปใช้ได้ มีส่วนประกอบของธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริมเกือบทุกชนิดที่พืชต้องการ
ที่มา
การทำน้ำหมักจากเศษปลาบำรุงผลกล้วยหอมทอง โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
วัสดุอุปกรณ์ :
เศษปลา จำนวน 60 กก.
กากน้ำตาล จำนวน 30 กก.
สารเร่งพด.2 จำนวน 1 ซอง
น้ำสะอาด จำนวน 10 ลิตร
ถังสำหรับหมัก จำนวน 1 ใบ
วิธีการทำ :
นำกากน้ำตาลใส่ลงในถังสำหรับหมัก
นำสารเร่งพด.2 ละลายให้เข้ากับน้ำแล้วคนให้นานประมาณ10นาทีเพื่อให้เชื้อจุลินทรีย์แตกตัวจากนั้นใส่ลงในถังสำหรับหมักแล้วคนให้เข้ากัน
นำเศษปลาที่เตรียมไว้ใส่ลงในถังหมักแล้วคนให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นปิดฝาให้สนิท
ให้ทำการคนทุกวันเพื่อให้ย่อยสลายเร็วขึ้นประมาณ30วันก็สามารถนำไปใช้ได้
++ การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาในสวนกล้วยหอมทอง ++
นำปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาจำนวน10ลิตร ผสมกับน้ำสะอาด200ลิตร ฉีดพ่นบนดินและรอบๆโคนต้นทุกๆ7วันจะทำให้ผลกล้วยหอมทองมีขนาดใหญ่และมีน้ำหนักดี มีรสชาติดี
**ห้ามนำปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาฉีดพ่นที่ผลของกล้วยหอมทองโดยตรงเพราะจะทำให้ผิวของกล้วยหอมทองไม่สวย
ข้อดีของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาในสวนกล้วยหอมทอง :
สามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้มากพอสมควรทำให้สามารถลดต้นทุนในการทำการเกษตรได้
กล้วยหอมทองมีผลโตรสชาติดีขึ้นมีความหวานมากขึ้น
ทำให้ดินดีขึ้น มีความร่วนซุย
การทำและการใช้ง่ายไม่ยุ่งยาก
ที่มา
เศษปลา จำนวน 60 กก.
กากน้ำตาล จำนวน 30 กก.
สารเร่งพด.2 จำนวน 1 ซอง
น้ำสะอาด จำนวน 10 ลิตร
ถังสำหรับหมัก จำนวน 1 ใบ
วิธีการทำ :
นำกากน้ำตาลใส่ลงในถังสำหรับหมัก
นำสารเร่งพด.2 ละลายให้เข้ากับน้ำแล้วคนให้นานประมาณ10นาทีเพื่อให้เชื้อจุลินทรีย์แตกตัวจากนั้นใส่ลงในถังสำหรับหมักแล้วคนให้เข้ากัน
นำเศษปลาที่เตรียมไว้ใส่ลงในถังหมักแล้วคนให้เข้ากันอีกครั้งจากนั้นปิดฝาให้สนิท
ให้ทำการคนทุกวันเพื่อให้ย่อยสลายเร็วขึ้นประมาณ30วันก็สามารถนำไปใช้ได้
++ การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาในสวนกล้วยหอมทอง ++
นำปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาจำนวน10ลิตร ผสมกับน้ำสะอาด200ลิตร ฉีดพ่นบนดินและรอบๆโคนต้นทุกๆ7วันจะทำให้ผลกล้วยหอมทองมีขนาดใหญ่และมีน้ำหนักดี มีรสชาติดี
**ห้ามนำปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาฉีดพ่นที่ผลของกล้วยหอมทองโดยตรงเพราะจะทำให้ผิวของกล้วยหอมทองไม่สวย
ข้อดีของการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพจากปลาในสวนกล้วยหอมทอง :
สามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้มากพอสมควรทำให้สามารถลดต้นทุนในการทำการเกษตรได้
กล้วยหอมทองมีผลโตรสชาติดีขึ้นมีความหวานมากขึ้น
ทำให้ดินดีขึ้น มีความร่วนซุย
การทำและการใช้ง่ายไม่ยุ่งยาก
ที่มา
เทคนิคการทำให้ถั่วฝักยาวออกฝักมาก โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
ถั่วฝักยาวนับเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของเกษตรไทยมาช้านาน การปลูกเพื่อการค้าให้ถั่วฝักยาวมีผลิตที่คุ้มค่านั้นนอกจากการให้ปุ๋ย ให้น้ำ หมั่นกำจัดวัชพืช ให้การดูแลอย่างสม่ำเสมอแล้ว ยังมีเคล็ดลับในการทำให้ถั่วฝักยาวออกฝักที่ดกกว่าปกติอีกด้วยครับ
โดยทั่วไปนั้น ประมาณ 30 -35 วัน ตั้งแต่ลงเมล็ดก็เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ และในช่วงวันที่ 25 ช่วงที่ถั่วฝักยาวเริ่มไต่ยอดขึ้นตามค้าง ให้ทำการเด็ดยอดถั่วออก 2 คู่ใบ หรือประมาณ 2 นิ้ว หลังจากนั้น 3-4 วัน ดูแลตามปกติ ก็จะมียอดใหม่แตกออกประมาณ 4 -5 ยอด ตรงข้อที่ได้เด็ดออกไป ดูแลให้ปุ๋ยให้น้ำอย่างสม่ำเสมอต่อไปอีกประมาณ 10-15 วัน ยอดที่แตกแขนงออกก็จะเริ่มผลิดอก และติดฝักทีดกกว่าการปลูกโดยปกติที่ไม่ได้ทำการเด็ดยอกอย่างแน่นอน อีกทั้งการเด็ดยอดยังทำให้พุ่มถั่วไม่สูงจนเกินไป ทำให้ง่ายต่อการดูแล การเก็บฝักอีกด้วยครับ
ที่มา
โดยทั่วไปนั้น ประมาณ 30 -35 วัน ตั้งแต่ลงเมล็ดก็เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ และในช่วงวันที่ 25 ช่วงที่ถั่วฝักยาวเริ่มไต่ยอดขึ้นตามค้าง ให้ทำการเด็ดยอดถั่วออก 2 คู่ใบ หรือประมาณ 2 นิ้ว หลังจากนั้น 3-4 วัน ดูแลตามปกติ ก็จะมียอดใหม่แตกออกประมาณ 4 -5 ยอด ตรงข้อที่ได้เด็ดออกไป ดูแลให้ปุ๋ยให้น้ำอย่างสม่ำเสมอต่อไปอีกประมาณ 10-15 วัน ยอดที่แตกแขนงออกก็จะเริ่มผลิดอก และติดฝักทีดกกว่าการปลูกโดยปกติที่ไม่ได้ทำการเด็ดยอกอย่างแน่นอน อีกทั้งการเด็ดยอดยังทำให้พุ่มถั่วไม่สูงจนเกินไป ทำให้ง่ายต่อการดูแล การเก็บฝักอีกด้วยครับ
ที่มา
สูตรไล่แมลงและกำจัดแมลง โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
ใช้ใบไม้ พืชผัก และ เคมีใกล้ตัว..ทั้งฆ่า ทั้งไล่(แมลง)
ทั้งฆ่า ทั้งไล่.....
........สูตร 1...เหล้าขาว 1 ขวดใหญ่ น้ำส้มสายชูกลั่น5% 1ขวดใหญ่ ยาฉุน 2 ขีด คนให้เข้ากันแช่รวมกันไว้ 1 คืน ใช้อัตราส่วน 2-5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ10ลิตร
........สูตร 2...น้ำส้มสายชู 1 ขวดใหญ่ พริกสด 1 ขีดหรือ 1 กำมือ โขลกพริกผสมน้ำส้มหมักไว้1คืน ใช้อัตราส่วน 2-5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 10ลิตร
........สูตร 3...เหล้าขาว 2 แก้ว น้ำส้มสายชู 1 แก้ว EM 1 แก้ว กากน้ำตาลหรือน้ำตาลทรายแดง 1 แก้ว ผสมทั้งหมดหมักไว้ 1 คืน ใช้อัตราส่วน 5-10 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 20 ลิตร
*****ทั้ง 3 สูตร เป็นยาฆ่าแมลง เวลาใช้ให้เจือจางตามสูตรที่ให้ค่ะ แล้วเติมน้ำยาล้างจานด้วย 1 ช้อนชา เพื่อให้น้ำยาที่ฉีดจับใบหรือเกาะที่ใบพืชของเรานานๆ ครับ
........จากภาพด้านบน ทั้งเพลี้ย หนอนหลอด บุ้ง มด.... ตายภายในไม่ถึง 5 นาทีเลยครับ ตายแบบเพลี้ยไหม้เลยล่ะ
.........อย่าใช้อัตราส่วนที่เข้มข้นมากไปนะคะ เพราะอาจทำให้ใบไหม้และตายได้ เพราะจะได้ผลดี คือ ฉีดตอนแดดจัดครับ
........สูตรขับไล่....
....สูตร 1....น้ำจากการดองผักต่างๆ หรือน้ำดองหน่อไม้ส้ม 5ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 10ลิตร
....สูตร 2....ข่าแก่ ใบขี้เหล็ก ใบสะเดา ตำทุกอย่างพอแตก ผสมน้ำเปล่าพอท่วมหมักไว้ 1 คืน
....สูตร 3....ใบสาบเสือ ใบน้อยหน่า ใบกระถิน โขลกรวมกันให้ช้ำ จนมีกลิ่นฉุนออกมา ผสมน้ำพอท่วมหมักไว้ 1 คืน
......ทั้ง 3 สูตร ใช้อัตรา 5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ10 ลิตร และเพิ่มน้ำยาล้างจาน 1 ช้อนชาครับ เพื่อจับใบ
ฉีดให้เปียกชุ่มทั่วทรงพุ่มเลยนะครับ ใต้ใบด้วยครับ อาทิตย์ละครั้ง จะไม่มีแมลงมารบกวนเลยครับ...
เครดิต เกษตรพอเพียง
ทั้งฆ่า ทั้งไล่.....
........สูตร 1...เหล้าขาว 1 ขวดใหญ่ น้ำส้มสายชูกลั่น5% 1ขวดใหญ่ ยาฉุน 2 ขีด คนให้เข้ากันแช่รวมกันไว้ 1 คืน ใช้อัตราส่วน 2-5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ10ลิตร
........สูตร 2...น้ำส้มสายชู 1 ขวดใหญ่ พริกสด 1 ขีดหรือ 1 กำมือ โขลกพริกผสมน้ำส้มหมักไว้1คืน ใช้อัตราส่วน 2-5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 10ลิตร
........สูตร 3...เหล้าขาว 2 แก้ว น้ำส้มสายชู 1 แก้ว EM 1 แก้ว กากน้ำตาลหรือน้ำตาลทรายแดง 1 แก้ว ผสมทั้งหมดหมักไว้ 1 คืน ใช้อัตราส่วน 5-10 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 20 ลิตร
*****ทั้ง 3 สูตร เป็นยาฆ่าแมลง เวลาใช้ให้เจือจางตามสูตรที่ให้ค่ะ แล้วเติมน้ำยาล้างจานด้วย 1 ช้อนชา เพื่อให้น้ำยาที่ฉีดจับใบหรือเกาะที่ใบพืชของเรานานๆ ครับ
........จากภาพด้านบน ทั้งเพลี้ย หนอนหลอด บุ้ง มด.... ตายภายในไม่ถึง 5 นาทีเลยครับ ตายแบบเพลี้ยไหม้เลยล่ะ
.........อย่าใช้อัตราส่วนที่เข้มข้นมากไปนะคะ เพราะอาจทำให้ใบไหม้และตายได้ เพราะจะได้ผลดี คือ ฉีดตอนแดดจัดครับ
........สูตรขับไล่....
....สูตร 1....น้ำจากการดองผักต่างๆ หรือน้ำดองหน่อไม้ส้ม 5ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 10ลิตร
....สูตร 2....ข่าแก่ ใบขี้เหล็ก ใบสะเดา ตำทุกอย่างพอแตก ผสมน้ำเปล่าพอท่วมหมักไว้ 1 คืน
....สูตร 3....ใบสาบเสือ ใบน้อยหน่า ใบกระถิน โขลกรวมกันให้ช้ำ จนมีกลิ่นฉุนออกมา ผสมน้ำพอท่วมหมักไว้ 1 คืน
......ทั้ง 3 สูตร ใช้อัตรา 5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ10 ลิตร และเพิ่มน้ำยาล้างจาน 1 ช้อนชาครับ เพื่อจับใบ
ฉีดให้เปียกชุ่มทั่วทรงพุ่มเลยนะครับ ใต้ใบด้วยครับ อาทิตย์ละครั้ง จะไม่มีแมลงมารบกวนเลยครับ...
เครดิต เกษตรพอเพียง
ที่มา
การดัดแปลงกระถางปลูกพืชหัว โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
ฟินมาก!! ดัดแปลงไม่ยากนะ กระถาง 2 ชั้น ปลูกพืชหัว (จากต่างประเทศ)
กระถางปลูกพืชหัว เช่น มันฝรั่ง แครอท หรือ พวกถั่ว ลองกรีดกระถาง แล้วปลูกซ้อน 2 ใบแบบนี้ เก็บเกี่ยวง่ายดี
ภาชนะคู่แบบนี้ ทรงคุณค่าสำหรับการปลูกพืชประเภทหัว เช่น มันฝรั่ง แครอท ถั่วดินชนิดต่างๆ
และคุณสามารถที่จะตรวจสอบความคืบหน้าของการพัฒนาของพืช และทำทุกอย่างโดยไม่จำเป็นต้องขุดพืชหัวเหล่านั้นขึ้น
จากนั้น คุณสามารถเก็บเกี่ยวอย่างต่อเนื่อง เมื่อคุณ 100% แน่ใจว่าพวกเขาก็พร้อม
เป็นผู้ชนะเลิศจากงานแสดง RHS Chelsea Flower สินค้าแห่งปีในปี 2015 วิธีที่กำลังเติบโตนี้เป็นนวัตกรรมใหม่สำหรับมันฝรั่งเป็นสิ่งที่คุณต้องการสำหรับการเก็บเกี่ยวที่มีประสิทธิภาพและไม่มีขยะ
ทำงานเป็นระบบถังคู่ – ยกถังชั้นใน และดูว่ามันฝรั่งของคุณ สามารถเก็บด้วยมือได้หรือยัง
และช่วยรักษาสภาพ ให้เราได้กินพืชผัก แบบโตเต็มที่ , สด และรวดเร็ว
เส้นผ่าศูนย์กลางขนาดประมาณ 27 ถึง 30 ซม.
(ของฝรั่งเขา ไอเดียดี ในไทยมีลิขสิทธิ์ หรือยัง ไม่ทราบ)
ภาชนะคู่แบบนี้ ทรงคุณค่าสำหรับการปลูกพืชประเภทหัว เช่น มันฝรั่ง แครอท ถั่วดินชนิดต่างๆ
และคุณสามารถที่จะตรวจสอบความคืบหน้าของการพัฒนาของพืช และทำทุกอย่างโดยไม่จำเป็นต้องขุดพืชหัวเหล่านั้นขึ้น
จากนั้น คุณสามารถเก็บเกี่ยวอย่างต่อเนื่อง เมื่อคุณ 100% แน่ใจว่าพวกเขาก็พร้อม
เป็นผู้ชนะเลิศจากงานแสดง RHS Chelsea Flower สินค้าแห่งปีในปี 2015 วิธีที่กำลังเติบโตนี้เป็นนวัตกรรมใหม่สำหรับมันฝรั่งเป็นสิ่งที่คุณต้องการสำหรับการเก็บเกี่ยวที่มีประสิทธิภาพและไม่มีขยะ
ทำงานเป็นระบบถังคู่ – ยกถังชั้นใน และดูว่ามันฝรั่งของคุณ สามารถเก็บด้วยมือได้หรือยัง
และช่วยรักษาสภาพ ให้เราได้กินพืชผัก แบบโตเต็มที่ , สด และรวดเร็ว
เส้นผ่าศูนย์กลางขนาดประมาณ 27 ถึง 30 ซม.
(ของฝรั่งเขา ไอเดียดี ในไทยมีลิขสิทธิ์ หรือยัง ไม่ทราบ)
การปลูกมะนาวนอกฤดูในวงบ่อซีเมนต์ โดย เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
การปลูกมะนาวนอกฤดูในวงบ่อซีเมนต์ ต้องการบังคับให้เก็บผลได้ในช่วงที่มะนาวราคาแพงที่สุด คือ ช่วงเดือน มีนาคม – เมษายน ของทุกปี ดังนั้นเมื่อเก็บผลผลิตหมดในเดือนพฤษภาคม ให้รีบดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
– ตัดแต่งกิ่ง เด็ดผลที่เหลือบนต้นออก เพื่อบำรุงต้น เร่งการสร้างยอดใหม่ ใบใหม่โดย ผลมะนาวที่คุณภาพดีที่สุดคือผลที่เกิดจากยอดใหม่ ผลที่เกิดจากกิ่งเก่าคุณภาพจะด้อยลงมา ผลที่คุณภาพต่ำสุดคือผลที่เกิดติดกิ่ง หลังตัดแต่งกิ่งเสร็จใช้ปุ๋ยเคมี 15 – 15 – 15 ใส่หนึ่งกำมือต่อวง เหตุผลว่าหากไม่ใช้ปุ๋ยเคมีเลย ต้นจะไม่ค่อยสมบูรณ์เท่าที่ควร และพบอาการผลเหลืองที่ไม่ได้เกิดจากอาการม้านแดดมากกว่าปกติ เนื่องจากการให้ผลผลิตในปีที่ผ่านมา ต้นมะนาวใช้ธาตุอาหารในการเลี้ยงลูกในปริมาณที่มาก
– เพิ่มวัสดุปลูกในวงบ่อเนื่องจากในแต่ละปีวัสดุปลูกจะยุบลง เพิ่มกาบมะพร้าวบริเวณโคนต้น เนื่องจากาบมะพร้าวผุพังไปบ้างในปีที่ผ่านมา กาบมะพร้าวเป็นวัสดุที่ช่วยเก็บรักษาความชื้นได้อย่างดี และยังเป็นวัสดุที่ช่วยเก็บรักษาปุ๋ยที่จ่ายมาทางระบบน้ำก่อนจะค่อย ๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารให้ต้นมะนาวใช้ ป้องกันการสูญเสียธาตุอาหารอันเกิดจากการไหลบ่า หรือการระเหย
– การให้ปุ๋ยชีวภาพซึ่งได้จากการหมักหอยเชอรี่30 กก. เศษผลไม้ 10 กก. กากน้ำตาล 10 กก. เชื้อพด. 2 จำนวน 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร สูตรนี้สามารถใช้ฉีดพ่นทางใบ ในอัตรา 20 – 25 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตรได้ ในส่วนของการให้ทางระบบน้ำนั้น เทคนิคคือใช้ปุ๋ยชีวภาพในอัตรา 5 ลิตร ต่อน้ำ 1,250 ลิตร ให้ทุก 5 – 7 วัน โดยในการให้จะให้ครั้งละ 3 – 5 นาทีเพื่อให้กาบมะพร้าวบริเวณโคนต้นชุ่มก็พอ หลังจากนั้นก็ให้น้ำตาม รอบปกติ น้ำจะค่อย ๆ ละลายธาตุอาหารลงไปให้ต้นมะนาวใช้ เป็นการจัดการที่ประหยัดปุ๋ย ใช้ปุ๋ยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
– ในระยะนี้ต้องรักษาใบและยอดให้ดี เนื่องจากมีโรค แมลงที่สำคัญเข้าทำลายในระยะยอดอ่อนถึงเพสลาดคือ เพลี้ยไฟ และโรคแคงเกอร์ ในเรื่องสารเคมีให้แนวคิดว่าบางระยะยังต้องมีการใช้อยู่ แต่ต้องเลือกใช้ในระยะที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค คือใช้ในระยะก่อนเก็บเกี่ยวไม่น้อยกว่า 2 เดือน เนื่องจากแปลงเรียนรู้นี้ปลูกทั้งพันธุ์ตาฮิติ และพันธุ์แป้นคละกันไป พันธุ์แป้นอ่อนแอต่อโรคแคงเกอร์มาก
– หลักการใช้สารเคมีในแปลงมะนาว นอกจากเพลี้ยไฟ โรคแคงเกอร์แล้วยังมีโรคและศัตรูอื่น ๆ อีก เช่น หนอนชอนใบ หนอนกัดกินใบ แมลงค่อม โรคยางไหล โรคราเข้าขั้ว การเลือกใช้ชนิดของสารเคมีและระยะที่ใช้จึงมีความจำเป็น หากอยู่ในระยะที่ใช้สารเคมีได้ เพลี้ยไฟ และหนอนชอนใบมีสารเคมีที่เลือกใช้ในการป้องกันกำจัดคือ อะบาแม็กติน อัตรา 3 – 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ( ทั้งนี้อัตราการใช้แล้วแต่ความเข้มข้นของแต่ละบริษัทที่ผลิต ) หากพบการระบาดมากจะใช้สาร อิมิดาคลอพริด อัตรา 3 – 5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร แมลงค่อมหรือด้วงปีกแข็งใช้สารคาร์โบซัลแฟน อัตรา 20 – 30 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร หรือไซเปอร์เมทริน อัตรา 5 – 10 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร โรคราเข้าขั้วใช้สารป้องกันกำจัดเชื้อราแมนโคเซ็บ อัตรา 20 – 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือคาร์เบ็นดาซิม อัตรา 10 – 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร ความถี่ในการฉีดพ่น ทุก 7 – 15 วัน หรือแล้วแต่สภาพการระบาดของโรคแมลง นอกเหนือจากระยะนี้แล้ว 2 เดือนก่อนเก็บเกี่ยว และเลือกใช้น้ำหมักชีวภาพที่มีฤทธิ์ไล่ และกำจัดแมลง โดยใช้น้ำหมักที่หมักจากสมุนไพรที่ มีรสเผ็ด ขม เหม็น เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด บอระเพ็ด สะเดา ใช้สมุนไพรดังกล่าวอย่างใดอย่างหนึ่ง30 กก. กากน้ำตาล 10 กก. พด. 7 จำนวน 25 กรัม ต่อน้ำ 30 ลิตร หมัก 20 วัน นำมาฉีดพ่นในอัตรา 25 ซีซีต่อน้ำ 20ลิตรทุก 7 – 15 วัน
– เนื่องจากมะนาว มีอายุ ประมาณ 5 เดือนสามารถเก็บขายได้ในเดือนที่ 6 การวางแผนการบังคับให้ออกนอกฤดู คือต้องทำให้ออกดอก เดือนตุลาคม เดือนกันยายนต้องงดปุ๋ย งดน้ำ จากประสบการณ์จะเลือกใช้จังหวะฝนทิ้งช่วงประมาณ 7 – 15 วัน เป็นการงดน้ำไปในตัวเป็นการจัดการที่ยากในกรณีที่ไม่มีแรงงานเพียงพอ แต่ถ้ามีแรงงานทำพอหรือปลูกไม่มากให้ใช้พลาสติกคลุม หากจะให้ได้ผลดี ในวันที่แดดออกต้องแกะพลาสติกออกให้น้ำระเหย หากฝนตกต้องคลุมพลาสติก
– งดน้ำจนใบเหี่ยว สลด และหลุดร่วงประมาณ 50 – 60 เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นให้น้ำตามปกติ ปุ๋ยเคมีที่ใช้เพื่อเปิดตาดอกในระยะนี้คือ ปุ๋ยที่มีตัวกลางสูงเช่น 12 – 24 – 12 หรือ 15 – 30 -15 ปริมาณ 1 กำมือต่อวงรดน้ำให้ชุ่มเพื่อให้ปุ๋ยละลาย
– หลังติดดอกแล้วให้น้ำตามปกติเช้า – เย็น เวลาละ 5-10 นาที
– ปุ๋ยทางดินที่ใช้ทดแทนปุ๋ยเคมี ตลอดฤดูการผลิตคือปุ๋ยอินทรีย์ที่หมักจากเศษพืช มูลสัตว์ กากหอยเชอรี่ เป็นการลดต้นทุนการผลิต ลดภาวะดินเสื่อมโทรม ปรับสภาพดินให้สมบูรณ์ อย่างยั่งยืน
วิธีการเลี้ยงไส้เดือนจาก เกษตร อินเตอร์เชียงใหม่
วิธีเลี้ยงไส้เดือน อาชีพอิสระทำเงิน วิธีเลี้ยงไส้เดือน เพื่อทำการเกษตร
หากจะพูดถึงสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังและมีลักษณะลำตัวเป็นข้อปล้องอย่าง ไส้เดือนดิน หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ไส้เดือน ซึ่งพวกเราทุกคนคงจะรู้จักกันเป็นอย่างดีอยู่แล้วใช่มั้ยครับค่ะ “ไส้เดือน” เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะลำตัวเป็นข้อปล้อง พบได้ทั่วไปในดิน ใต้กองใบไม้ หรือใต้มูลสัตว์
ไส้เดือนเป็นสัตว์ที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน แต่มีการสืบพันธุ์แบบทั้งอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ สัตว์ชนิดนี้มักจะมีให้เห็นอยู่ทั่วไปภายในบริเวณรอบบ้านตามแหล่งหรือสถานที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ และในปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงไส้เดือนกันเป็นอาชีพ และมีการเผยแพร่ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับไส้เดือนเพิ่มและกว้างมากขึ้น ซึ่งหลายคนมักจะมองข้ามสิ่งเล็กๆ อย่างไส้เดือนนี้ แต่วันนี้เราจะพาทุกท่านไปรู้จักกับอาชีพๆ นึงครับ ที่พวกเค้ามีรายได้มาจากไส้เดือนนี่แหละ รายละเอียดจะเป็นอย่างไรนั้น เราไปดูกันเลยครับ
วิธีเลี้ยงไส้เดือนดิน
1. เตรียมวงบ่อซีเมนต์ กระบะไม้ หรือก้อนอิฐบล๊อก วางเรียงกันโดยใช้พลาสติกรองพื้นในที่ที่ค่อนข้างร่มโดยอาจมีหลังคากั้นจะกั้นด้วยซาแลนหรือวัสดุอื่น ๆ ก็พอได้ สำหรับผู้สนใจอยากจะเลี้ยงแต่ถูกจำกัดด้วยพื้นที่ก็สามารถเลี้ยงได้ในชั้นพลาสติก เรียกว่า คอนโดไส้เดือน ลักษณะการเลี้ยงไส้เดือนใน คอนโด คือการนำเอาชั้นพลาสติกมาเจารูของแต่ละชั้นยกเว้นชั้นล่างสุด เพื่อไว้สำหรับรองรับน้ำสกัดที่ได้จากการเลี้ยงไส้เดือน โดยเจาะรูชั้นที่ 1 – 3 (นับจากด้านบนลงมา) นำไส้เดือนพร้อมที่อยู่ของไส้เดือน (Bedding)ที่ทำการหมักไว้แล้วลงในแต่ละชั้น(ใส่ Bedding ครึ่งภาชนะก็พอ) โดยใส่ในชั้นที่ 1 – 3 ในอัตราส่วนปริมาณของตัวไส้เดือน ชั้นละ 20 – 30 ตัว
2. ในขั้นนี้เรียกว่าขั้นตอนของการหมักที่อยู่ของไส้เดือน (Bedding) ที่อยู่ของไส้เดือนชนิดต่างๆ มาจากไหนบ้า
กระดาษพิมพ์ฉีกเป็นชิ้น หรือ กระดาษพิมพ์ย่อยด้วยเครื่องย่อยกระดาษ
ขุยมะพร้าว
ขี้กบ หรือ ขี้เลื่อยจากไม้ต่างๆ
ใบไม้เก่าๆ
ขั้นตอนต่อไป คือการนำเศษกระดาษไปแช่น้ำให้ชุ่มนำมูลสัตว์แห้ง (ในการหมักในที่นี้ใช้มูลโค) มาหมักผสมกับกระดาษที่เตรียมไว้ให้เข้ากันใส่น้ำผสมลงไปอีกเล็กน้อย หรืออาจหมักรวมกับวัสดุอื่นๆอีกก็ได้ เช่น ขุยมะพร้าว ขี้กบ ลงในภาชนะเช่น วงบ่อซีเมนต์ หรือกะละมังพลาสติก หมักทิ้งไว้ประมาณ 15 – 30 วัน หรือมากกว่านี้ก็ได้ ข้อสังเกตหลังจากทำการหมักที่อยู่ของไส้เดือน เพื่อให้แน่ใจว่าใช้ได้หรือยัง โดยใช้มือซุกเข้าไปในกองส่วนผสมที่หมักไว้ หากยังมีความร้อนแสดงว่ากระบวนการหมักยังไม่เสร็จสิ้น ต้องหมักไปอีกสักระยะหนึ่ง ถ้ายังมีความร้อนอยู่ไส้เดือนจะไม่สามารถอยู่ได้ โดยเฉพาะความเข้มข้นในมูลสัตว์นั้นทำให้ตัวไส้เดือนขาดเป็นปล้องๆ และอาจทำให้ไส้เดือนตายทั้งหมดได้
หมายเหตุ : ต้องระวังในเรื่องของกลิ่นเหม็นในช่วงของการหมักไปรบกวนผู้อื่น ถ้าอยู่ในเขตชุมชน
3. ขั้นตอนของการนำไส้เดือนลงเลี้ยงในที่อยู่ที่เตรียมไว้ ผู้เลี้ยงต้องแน่ใจว่าที่อยู่ของไส้เดือนไม่มีความร้อน และพร้อมที่จะนำไส้เดือนลงเลี้ยงได้ นำไส้เดือนลงในสัดส่วนพื้นที่ ไส้เดือน 1 กิโลกรัม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร และก็ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการเลี้ยงด้วยว่า จะเลี้ยงเพื่อการกำจัดขยะเพียงอย่างเดียว หรือเพื่อผลิตปุ๋ยชีวภาพที่ได้จากการเลี้ยงไส้เดือน รวมทั้งการขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มปริมาณไส้เดือน สำหรับการนำไส้เดือนลงในภาชนะที่เลี้ยงพร้อมที่อยู่ของไส้เดือน มี 2 วิธี คือ
นำเฉพาะตัวไส้เดือนลงไปในที่อยู่ใหม่
นำไส้เดือนพร้อมทั้งที่อยู่ของไส้เดือนเก่าด้วย โดยวางสัดส่วนของที่อยู่ไส้เดือนไว้อย่างละครึ่ง
ไส้เดือนมีกี่ชนิด
ปัจจุบันพบทั่วโลกประมาณ 4,400 ชนิด โดยแบ่งออกได้ตามลักษณะแหล่งที่อยู่อาศัย
กลุ่มอาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน
กลุ่มอาศัยในดินชั้นบน ที่มีความลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร
กลุ่มอาศัยในดินชั้นล่าง ที่มีความลึกประมาณ 2-3 เมตร
ประโยชน์ของไส้เดือนดิน
ด้านสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยหมัก ลดการฝั่งกลบขยะไส้เดือนช่วยพลิกกลับดิน โดยการกินดินทำให้แร่ธาตุในดินผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน
ช่วยทำลายชั้นดิน
ด้านการเกษตร ผลิตปุ๋ยหมักจากไส้เดือนและน้ำสกัดชีวภาพใช้ในการเกษตรอินทรีย์
ช่วยให้การย่อยสลายสารอินทรีย์ที่รวมถึงซากพืชสัตว์และอินทรียวัตถุต่าง ๆ ผลิตปุ๋ยหมัก (vermicomposting) และน้ำสกัดชีวภาพจากไส้เดือน (worm tea)
ส่งเสริมการละลายธาตุอาหารพืชที่อยู่ในรูปอนินทรีย์สารที่พืชใช้ประโยชน์ไม่ได้
ไปอยู่ในรูปที่พืชนำมาใช้ประโยชน์ได้
ช่วยในการปรับปรุงโครงสร้างของดินเลี้ยงเพื่อรักษาสภาพแวดล้อม โดยการเปลี่ยนของอินทรีย์เป็นปุ๋ยหมัก
ใช้เลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ผลิตไส้เดือนเป็นอาหารโปรตีน (vermiculture) เนื่องจากไส้เดือนมีโปรตีนสูงอาจใช้เลี้ยงปลา เลี้ยงเพื่อใช้เป็นเหยื่อตกปลา ด้านอาหารสัตว์ ใช้เป็นอาหารโปรตีนทั้งในรูปไส้เดือนเป็นและผง หรือไส้เดือนสดสำหรับเลี้ยงเป็ด หรือกบก็ได้
ด้านการแพทย์ รักษาโรคข้ออักเสบ แผลอักเสบ โรคผิวหนัง และสลายลิ่มเลือดในหลอดเลือด
ไส้เดือนเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอย่างมากในการย่อยอินทรียสารในดิน และการเคลื่อนที่ในดินของไส้เดือน ถือเป็นการพรวนดิน ทำให้ดินมีช่องว่างที่จะเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้แก่ดิน ซึ่งมีความสำคัญต่อการปลูกพืช อีกทั้งยังใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพจากไส้เดือนอีกด้วย และนอกจากนี้แล้ว ไส้เดือนยังเป็นที่นิยมอย่างยาวนานสำหรับใช้เป็นเหยื่อล่อในการตกปลาครับ
ไส้เดือนเป็นสัตว์ที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน แต่มีการสืบพันธุ์แบบทั้งอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ สัตว์ชนิดนี้มักจะมีให้เห็นอยู่ทั่วไปภายในบริเวณรอบบ้านตามแหล่งหรือสถานที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ และในปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงไส้เดือนกันเป็นอาชีพ และมีการเผยแพร่ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับไส้เดือนเพิ่มและกว้างมากขึ้น ซึ่งหลายคนมักจะมองข้ามสิ่งเล็กๆ อย่างไส้เดือนนี้ แต่วันนี้เราจะพาทุกท่านไปรู้จักกับอาชีพๆ นึงครับ ที่พวกเค้ามีรายได้มาจากไส้เดือนนี่แหละ รายละเอียดจะเป็นอย่างไรนั้น เราไปดูกันเลยครับ
วิธีเลี้ยงไส้เดือนดิน
1. เตรียมวงบ่อซีเมนต์ กระบะไม้ หรือก้อนอิฐบล๊อก วางเรียงกันโดยใช้พลาสติกรองพื้นในที่ที่ค่อนข้างร่มโดยอาจมีหลังคากั้นจะกั้นด้วยซาแลนหรือวัสดุอื่น ๆ ก็พอได้ สำหรับผู้สนใจอยากจะเลี้ยงแต่ถูกจำกัดด้วยพื้นที่ก็สามารถเลี้ยงได้ในชั้นพลาสติก เรียกว่า คอนโดไส้เดือน ลักษณะการเลี้ยงไส้เดือนใน คอนโด คือการนำเอาชั้นพลาสติกมาเจารูของแต่ละชั้นยกเว้นชั้นล่างสุด เพื่อไว้สำหรับรองรับน้ำสกัดที่ได้จากการเลี้ยงไส้เดือน โดยเจาะรูชั้นที่ 1 – 3 (นับจากด้านบนลงมา) นำไส้เดือนพร้อมที่อยู่ของไส้เดือน (Bedding)ที่ทำการหมักไว้แล้วลงในแต่ละชั้น(ใส่ Bedding ครึ่งภาชนะก็พอ) โดยใส่ในชั้นที่ 1 – 3 ในอัตราส่วนปริมาณของตัวไส้เดือน ชั้นละ 20 – 30 ตัว
2. ในขั้นนี้เรียกว่าขั้นตอนของการหมักที่อยู่ของไส้เดือน (Bedding) ที่อยู่ของไส้เดือนชนิดต่างๆ มาจากไหนบ้า
กระดาษพิมพ์ฉีกเป็นชิ้น หรือ กระดาษพิมพ์ย่อยด้วยเครื่องย่อยกระดาษ
ขุยมะพร้าว
ขี้กบ หรือ ขี้เลื่อยจากไม้ต่างๆ
ใบไม้เก่าๆ
ขั้นตอนต่อไป คือการนำเศษกระดาษไปแช่น้ำให้ชุ่มนำมูลสัตว์แห้ง (ในการหมักในที่นี้ใช้มูลโค) มาหมักผสมกับกระดาษที่เตรียมไว้ให้เข้ากันใส่น้ำผสมลงไปอีกเล็กน้อย หรืออาจหมักรวมกับวัสดุอื่นๆอีกก็ได้ เช่น ขุยมะพร้าว ขี้กบ ลงในภาชนะเช่น วงบ่อซีเมนต์ หรือกะละมังพลาสติก หมักทิ้งไว้ประมาณ 15 – 30 วัน หรือมากกว่านี้ก็ได้ ข้อสังเกตหลังจากทำการหมักที่อยู่ของไส้เดือน เพื่อให้แน่ใจว่าใช้ได้หรือยัง โดยใช้มือซุกเข้าไปในกองส่วนผสมที่หมักไว้ หากยังมีความร้อนแสดงว่ากระบวนการหมักยังไม่เสร็จสิ้น ต้องหมักไปอีกสักระยะหนึ่ง ถ้ายังมีความร้อนอยู่ไส้เดือนจะไม่สามารถอยู่ได้ โดยเฉพาะความเข้มข้นในมูลสัตว์นั้นทำให้ตัวไส้เดือนขาดเป็นปล้องๆ และอาจทำให้ไส้เดือนตายทั้งหมดได้
หมายเหตุ : ต้องระวังในเรื่องของกลิ่นเหม็นในช่วงของการหมักไปรบกวนผู้อื่น ถ้าอยู่ในเขตชุมชน
3. ขั้นตอนของการนำไส้เดือนลงเลี้ยงในที่อยู่ที่เตรียมไว้ ผู้เลี้ยงต้องแน่ใจว่าที่อยู่ของไส้เดือนไม่มีความร้อน และพร้อมที่จะนำไส้เดือนลงเลี้ยงได้ นำไส้เดือนลงในสัดส่วนพื้นที่ ไส้เดือน 1 กิโลกรัม ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร และก็ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการเลี้ยงด้วยว่า จะเลี้ยงเพื่อการกำจัดขยะเพียงอย่างเดียว หรือเพื่อผลิตปุ๋ยชีวภาพที่ได้จากการเลี้ยงไส้เดือน รวมทั้งการขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มปริมาณไส้เดือน สำหรับการนำไส้เดือนลงในภาชนะที่เลี้ยงพร้อมที่อยู่ของไส้เดือน มี 2 วิธี คือ
นำเฉพาะตัวไส้เดือนลงไปในที่อยู่ใหม่
นำไส้เดือนพร้อมทั้งที่อยู่ของไส้เดือนเก่าด้วย โดยวางสัดส่วนของที่อยู่ไส้เดือนไว้อย่างละครึ่ง
ไส้เดือนมีกี่ชนิด
ปัจจุบันพบทั่วโลกประมาณ 4,400 ชนิด โดยแบ่งออกได้ตามลักษณะแหล่งที่อยู่อาศัย
กลุ่มอาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน
กลุ่มอาศัยในดินชั้นบน ที่มีความลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร
กลุ่มอาศัยในดินชั้นล่าง ที่มีความลึกประมาณ 2-3 เมตร
ประโยชน์ของไส้เดือนดิน
ด้านสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนขยะอินทรีย์เป็นปุ๋ยหมัก ลดการฝั่งกลบขยะไส้เดือนช่วยพลิกกลับดิน โดยการกินดินทำให้แร่ธาตุในดินผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน
ช่วยทำลายชั้นดิน
ด้านการเกษตร ผลิตปุ๋ยหมักจากไส้เดือนและน้ำสกัดชีวภาพใช้ในการเกษตรอินทรีย์
ช่วยให้การย่อยสลายสารอินทรีย์ที่รวมถึงซากพืชสัตว์และอินทรียวัตถุต่าง ๆ ผลิตปุ๋ยหมัก (vermicomposting) และน้ำสกัดชีวภาพจากไส้เดือน (worm tea)
ส่งเสริมการละลายธาตุอาหารพืชที่อยู่ในรูปอนินทรีย์สารที่พืชใช้ประโยชน์ไม่ได้
ไปอยู่ในรูปที่พืชนำมาใช้ประโยชน์ได้
ช่วยในการปรับปรุงโครงสร้างของดินเลี้ยงเพื่อรักษาสภาพแวดล้อม โดยการเปลี่ยนของอินทรีย์เป็นปุ๋ยหมัก
ใช้เลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ผลิตไส้เดือนเป็นอาหารโปรตีน (vermiculture) เนื่องจากไส้เดือนมีโปรตีนสูงอาจใช้เลี้ยงปลา เลี้ยงเพื่อใช้เป็นเหยื่อตกปลา ด้านอาหารสัตว์ ใช้เป็นอาหารโปรตีนทั้งในรูปไส้เดือนเป็นและผง หรือไส้เดือนสดสำหรับเลี้ยงเป็ด หรือกบก็ได้
ด้านการแพทย์ รักษาโรคข้ออักเสบ แผลอักเสบ โรคผิวหนัง และสลายลิ่มเลือดในหลอดเลือด
ไส้เดือนเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ เป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอย่างมากในการย่อยอินทรียสารในดิน และการเคลื่อนที่ในดินของไส้เดือน ถือเป็นการพรวนดิน ทำให้ดินมีช่องว่างที่จะเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้แก่ดิน ซึ่งมีความสำคัญต่อการปลูกพืช อีกทั้งยังใช้ในการผลิตปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพจากไส้เดือนอีกด้วย และนอกจากนี้แล้ว ไส้เดือนยังเป็นที่นิยมอย่างยาวนานสำหรับใช้เป็นเหยื่อล่อในการตกปลาครับ
เครดิต เพื่อนเกษตร
ที่มา
การใช้ปุ๋ยหมักร่วมปุ๋ยน้ำ ในการผลิตข้าวอินทรีย์
การเตรียมแปลง แนะนำให้ทำปุ๋ยหมักไว้ใช้ โดยใช้เวลาเพียง 20 วัน ก็สามารถใช้ได้แล้ว ซึ่งส่วนประกอบในการทำปุ๋ยหมักใช้เอง มีดังนี้
1.ปุ๋ยคอก 2 กระสอบป่าน
2.แกลบขาว 1 กระสอบป่าน
3.แกลบดำ 1 ถุงปุ๋ย
4.น้ำหมัก 1 ขวดโพลาริส
5.กากน้ำตาล แล้วแต่จะเติมใส่เพื่อช่วยในการย่อยสลาย
นำส่วนผสมทั้งหมดมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 20 วัน
1.ปุ๋ยคอก 2 กระสอบป่าน
2.แกลบขาว 1 กระสอบป่าน
3.แกลบดำ 1 ถุงปุ๋ย
4.น้ำหมัก 1 ขวดโพลาริส
5.กากน้ำตาล แล้วแต่จะเติมใส่เพื่อช่วยในการย่อยสลาย
นำส่วนผสมทั้งหมดมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 20 วัน
สูตรน้ำหมัก
1.ผักบุ้ง, ผักคะน้า, ผลไม้สด รวมกัน 3 กิโลกรัม
2.กากน้ำตาล 3 กิโลกรัม
1.ผักบุ้ง, ผักคะน้า, ผลไม้สด รวมกัน 3 กิโลกรัม
2.กากน้ำตาล 3 กิโลกรัม
วิธีการใช้ปุ๋ยเพื่อเตรียมแปลง หากเป็นแปลงนาใหม่ที่เพิ่งเปลี่ยนมาทำนาแบบเกษตรอินทรีย์ให้ใส่ปุ๋ยลงแปลง1ไร่ ต่อปุ๋ย 1 ตัน ถ้าเป็นแปลงนาที่ทำนาเกษตรอินทรีย์มาแล้ว ก็ใช้ไร่ละ 100 200 กิโลกรัม เมื่อใส่ลงไปแล้วให้ปล่อยน้ำเข้าที่นาไม่ต้องปล่อยเข้ามาก หลังจากนั้นก็เริ่มไถกลบและ เตรียมปัก ดำ หรือหว่านตามที่ต้องการได้ หลังจากนั้นช่วงระยะข้าวตั้งท้องก็ให้ฉีดน้ำส้มควันไม้ไว้ แล้วรอทำการเก็บเกี่ยว
วิธีทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ
1. บดป่นหรือสับเล็กส่วนผสมทั้งหมด คลุกเคล้าให้เข้ากัน บรรจุลงภาชนะที่ไม่ใช่โลหะ
2. ใส่กากน้ำตาลพอท่วม เติมน้ำมะพร้าวท่วมมาก ๆ ตามต้องการ ใส่จุลินทรีย์ คนหรือเขย่าให้เข้ากันดี
3. เก็บไว้ในที่ร่ม อุณหภูมิห้อง ปิดฝาพอหลวม ๆ คนหรือเขย่าบ่อย ๆ
4. หมักนาน 7 วัน ถ้ามีกลิ่นหอมหวานฉุนถือว่า “ใช้ได้” ถ้ามีกลิ่นบูดเปรี้ยวให้เติมกากน้ำตาล น้ำมะพร้าว
และจุลินทรีย์แล้วหมักต่อไปจนกว่าจะมีกลิ่นหอม
และจุลินทรีย์แล้วหมักต่อไปจนกว่าจะมีกลิ่นหอม
5. ระหว่างการหมักมีฟองเกิดขึ้นถือว่าดี หมดฟองแล้วนำไปใช้ได้
6. หมักในภาชนะขนาดเล็กได้ผลเร็วกว่าหมักในภาชนะขนาดใหญ่
7. พยายามกดให้ส่วนผสมจมอยู่ใต้กากน้ำตาลเสมอ
เทคนิคเฉพาะปุ๋ยน้ำชีวภาพ
1. ส่วนผสมที่ข้นมาก แก้ไขด้วยการเติมน้ำมะพร้าวมาก ๆ ไม่ควรเติมน้ำเปล่าทุกกรณีและน้ำมะพร้าวอ่อนดีกว่าน้ำมะพร้าวแก่
2. หมักไว้เป็นเวลานาน ๆ มีกลิ่นบูดเปรี้ยวให้เติมน้ำมะพร้าวกับกากน้ำตาลและจุลินทรีย์ลงไปอีก
3. จุลินทรีย์ธรรมชาติมีใน เปลือก / ตา / แกนจุกสับปะรด แกนต้นปรง ผักปรัง เหง้าหญ้าขนสด ฟางเห็ดฟาง
เนื้อผลไม้รสหวานทุกชนิด หรือที่จำหน่ายตามท้องตลาด เช่น จินเจียงลินซีส บาซิลลัสสุริยา-โน
ไซโมจินัส พด-1 เป็นต้น ให้เติมจุลินทรีย์เพียงเล็กน้อยพอเป็นหัวเชื้อ
เนื้อผลไม้รสหวานทุกชนิด หรือที่จำหน่ายตามท้องตลาด เช่น จินเจียงลินซีส บาซิลลัสสุริยา-โน
ไซโมจินัส พด-1 เป็นต้น ให้เติมจุลินทรีย์เพียงเล็กน้อยพอเป็นหัวเชื้อ
4. ส่วนผสมทั้งหมดไม่จำเป็นต้องหมักพร้อม ๆ กัน ส่วนไหนมาก่อนหมักก่อน มาทีหลังหมักทีหลังในภาชนะเดิม
5.กากปุ๋ยหมักชีวภาพคือส่วนที่ยังย่อยสลายไม่หมดเมื่อใช้น้ำหัวเชื้อหมดแล้วให้ใส่ส่วนผสมชุดใหม่ผสมกับกากเดิมเติมกากน้ำตาล น้ำมะพร้าวและจุลินทรีย์แล้วหมักต่อไป
6. ปุ๋ยน้ำชีวภาพสามารถเก็บได้นานนับปีหรือข้ามปีโดยไม่เสื่อมสภาพ
7. ธาตุอาหารพืชในปุ๋ยน้ำชีวภาพมีอะไรบ้างและจำนวนเท่าไรขึ้นอยู่กับส่วนผสมที่ใช้
8.น้ำหัวเชื้อปุ๋ยน้ำชีวภาพเมื่อกรองออกมาใส่ขวดทึบแสงแล้วเก็บในตู้เย็นที่ช่องเย็นธรรมดาหรือในอุณหภูมิห้อง
สามารถเก็บไว้ได้นาน ระหว่างเก็บให้ตรวจสอบด้วยการดมกลิ่น ของดีมีกลิ่นหอมหวานฉุน
สามารถเก็บไว้ได้นาน ระหว่างเก็บให้ตรวจสอบด้วยการดมกลิ่น ของดีมีกลิ่นหอมหวานฉุน
9. ปุ๋ยน้ำชีวภาพที่ดีต้องไม่มีกลิ่นของส่วนผสมอย่างใดอย่างหนึ่งชัดเจน
10. หัวเชื้อปุ๋ยน้ำชีวภาพที่หมักใช้การได้ใหม่ ๆ เป็นกรดจัด เมื่อหมักนาน ๆ ความเป็นกรดจะลดลงเอง
11. หนอนที่เกิดในภาชนะหมักเกิดจากไข่แมลงวัน หนอนนี้จะไม่เป็นแมลง เมื่อโตเต็มที่จะตายไปเอง
12. ฝ้าที่ลอยอยู่ที่ผิวหน้าคือจุลินทรีย์ที่ตายแล้ว คนหรือเขย่าให้จมลงเป็นอาหารจุลินทรีย์ที่ยังไม่ตาย
13. ประกายระยิบระยับที่ผิวหน้า คือ “ฮิวมัส” ธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพืช
14. อัตราใช้ เนื่องจากความเข้มข้นที่แต่ละคนทำไม่เท่ากัน ก่อนใช้งานจริงต้องทดสอบก่อนอัตราตั้งแต่
1-20 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร ถ้าใช้อัตราเข้มข้นเกินจะทำให้ใบพืชไหม้โดยทั่วไปอัตราที่ใช้ให้ทางใบ 1/1,000
ทุก 7-10 วันให้ทางราก 1/500 ทุก 10–15 วัน
1-20 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร ถ้าใช้อัตราเข้มข้นเกินจะทำให้ใบพืชไหม้โดยทั่วไปอัตราที่ใช้ให้ทางใบ 1/1,000
ทุก 7-10 วันให้ทางราก 1/500 ทุก 10–15 วัน
15. ก่อนการให้กับพืชอาจผสมปุ๋ยเคมีหรือฮอร์โมนพืชร่วมด้วยก็ได้ตามความเหมาะสม
16. ปุ๋ยน้ำชีวภาพจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อใช้ร่วมกับปุ๋ยหมักชีวภาพ
ปุ๋ยหมักถั่วเหลือง
ถั่วเหลือง
ถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจตัวหนึ่งของจังหวัดเลยที่เกษตรกรนิยมปลูกหลังการเก็บเกี่ยวข้าวนาปีเพราะทำให้ได้รายได้เพิ่มหลังการเก็บเกี่ยวข้าวและยังได้ประโยชน์เรื่องการเป็นปุ๋ยบำรุงดินเพื่อรักษาความชุ่มชื้นและเป็นการเพิ่มไนโตรเจนในดินได้ด้วย
วัสดุอุปกรณ์
1.ต้นถั่วเหลือง 200 กก.2.แกลบดิบ 200 กก.
3.มูลสัตว์ขี้วัว ขี้ควาย 200 กก.
4.น้ำหมัก 5 ลิตร ผสมน้ำ 200 ลิตร (นำมาราดลงบนกองปุ๋ย ให้ความชื้น 60 %)
วิธีทำ
นำส่วนผสมทุกอย่างมาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันนำน้ำหมักมาราดบนกองปุ๋ยและคลุกเคล้าให้เข้ากันอีกครั้ง ให้ กลับกองปุ๋ยทุก 15 วัน หมักไว้เป็นเวลา 45 วัน จะได้ปุ๋ยหมักจากต้นถั่วเหลือง เพื่อ ใส่นาข้าว หรือแปลงผักจะช่วยประหยัดต้นทุนในการซื้อปุ๋ยเคมีได้มากเลยทีเดียวและยังช่วยให้ดินในนาข้าวร่วนซุยมีธาตุอาหารมากยิ่งขึ้น ต้นข้าวเขียวและเพิ่มผลผลิตให้กับเกษตรกร
ที่มา
การขยายพันธ์มะละกอด้วยวิธีตอนกิ่ง
นี่คือวิธีการขายพันธุ์มะละกอแบบไม่ต้องใช้เมล็ด ได้ผลดีกว่า เพราะจะได้ต้นพันธ์ที่เหมือนกับต้นแม่ทุกประการ ลูกสวย ลูกโต ก็จะยังคงเหมือนเดิมไม่มีกลายพันธุ์ แถมยังให้ผลผลิตเร็วกว่าการปลูกด้วยเมล็ดอีกต่างหากครับ
วิธีการตอนกิ่งมะละกอนั้นก็สามารถทำได้ง่ายๆ โดยให้เตรียมอุปกรณ์ไว้ก่อนดังนี้ครับ
1. มีดขนาดเล็กคมๆ หน่อย , 2. เชือกหรือยางที่มัดได้ , 3. ถุงพลาสติกขนาด 3 x 5 นิ้ว , 4. ขุยมะพร้าว 5. ดินร่วน ,6. ลิ่มไม้เนื้อแข็งไม่ยุ่ยง่ายเมื่อโดนความชื้น หรือจะเป็นอิฐแดงดีให้ได้ขนาดเท่ากับนิ้วก้อยก็ได้
1. มีดขนาดเล็กคมๆ หน่อย , 2. เชือกหรือยางที่มัดได้ , 3. ถุงพลาสติกขนาด 3 x 5 นิ้ว , 4. ขุยมะพร้าว 5. ดินร่วน ,6. ลิ่มไม้เนื้อแข็งไม่ยุ่ยง่ายเมื่อโดนความชื้น หรือจะเป็นอิฐแดงดีให้ได้ขนาดเท่ากับนิ้วก้อยก็ได้
ส่วนวิธีการทำนั้นก็ง่ายๆ ดังนี้ครับ
1. ให้คัดเลือกต้นพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้ได้พันธุ์ที่ดี และตรงตามความต้องกสารของตลาด
2. เมื่อได้ต้นพันธุ์แล้วให้ทำการตอนมะละกอต้นพันธุ์ไปปลูก จากนั้นตอที่เหลือจะแตกกิ่งออกมาประมาณ 5-6 กิ่ง ในระยะเวลาเพียง 2 เดือนครึ่ง โดยแต่ละกิ่งจะมีความยาว 20-25 เซนติเมตร
3. ให้ทำการเฉือนกิ่งพันธุ์จากข้างล่างขึ้นไปข้างบนเป็นลักษณะปากฉลาม หลังจากนั้นให้นำลิ่มไม้เล็กๆ มาขัดไว้ ไม่ให้เนื้อของต้นมะละกอติดกัน
4. นำดินร่วนและขุยมะพร้าวมาผสมกันในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 บรรจุลงถุงพลาสติก และผ่าตรงกลาง รดน้ำให้ชุ่ม และนำไปวางทำรอยแผลที่เราเฉือนไว้ มัดถึงให้แน่นด้วยเชือก และทำการ เฉือนท่อน้ำเลี้ยงห่างจากกิ่งตอนประมาณ 3-5 นิ้ ซึ่วิธีนี้จะช่วยให้รากงอกเร็วขึ้น
1. ให้คัดเลือกต้นพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้ได้พันธุ์ที่ดี และตรงตามความต้องกสารของตลาด
2. เมื่อได้ต้นพันธุ์แล้วให้ทำการตอนมะละกอต้นพันธุ์ไปปลูก จากนั้นตอที่เหลือจะแตกกิ่งออกมาประมาณ 5-6 กิ่ง ในระยะเวลาเพียง 2 เดือนครึ่ง โดยแต่ละกิ่งจะมีความยาว 20-25 เซนติเมตร
3. ให้ทำการเฉือนกิ่งพันธุ์จากข้างล่างขึ้นไปข้างบนเป็นลักษณะปากฉลาม หลังจากนั้นให้นำลิ่มไม้เล็กๆ มาขัดไว้ ไม่ให้เนื้อของต้นมะละกอติดกัน
4. นำดินร่วนและขุยมะพร้าวมาผสมกันในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 บรรจุลงถุงพลาสติก และผ่าตรงกลาง รดน้ำให้ชุ่ม และนำไปวางทำรอยแผลที่เราเฉือนไว้ มัดถึงให้แน่นด้วยเชือก และทำการ เฉือนท่อน้ำเลี้ยงห่างจากกิ่งตอนประมาณ 3-5 นิ้ ซึ่วิธีนี้จะช่วยให้รากงอกเร็วขึ้น
การเลี้ยงปูนา
ปูนาเลี้ยงได้เช่นเดียวกับปูทะเลหรือปูม้า เทคนิคการเลี้ยงก็เรียบง่ายใช้เทคโนโลยีชาวบ้านเป็นพื้นฐาน บ่อที่ใช้เลี้ยงปูนา จะเป็นบ่อบ่อดิน หรือบ่อซีเมนต์ ก็ได้ ถ้าเป็นบ่อดินควรมีอวนมุ้งตาถี่ล้อมรอบบ่อเพื่อป้องกันปูหนี ถ้าเป็นบ่อซีเมนต์ก็สะดวกต่อการดูแล รักษาและการจัดการ
การสร้างบ่อซีเมนซ์เพื่อเลี้ยงปูนา
ในการทำบ่อซีเมนซ์สำหรับเลี้ยงปูนาแล้วแต่ความสะดวกของเกษตร โดยส่วนใหญ่แล้วนิยมทำขนาด 2×3 เมตร จะทำเป็นแบบเทพื้นปูน หรือจะเลี้ยงแบบพื้นดินก็ได้ แต่แนะนำให้ทำแบบพื้นปูนแล้วใส่ดินหน้าประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร เพื่อให้ปูได้ขุดรู โดยการใส่ดินเข้าไปในบ่อนั้น เทดินแบบลาดเอียง อีกข้างนึงมีน้ำ เลียนแบบบ่อธรรมชาตินั่นเอง หรือจะเทดินทั้งหมด แล้วใส่น้ำในกะละมังก็ได้ แล้วแต่สะดวก
ปลูกพืชพรรณไม้น้ำเพื่อให้เป็นแหล่งอาศัยและเป็นแหล่งอาหารของปูนา อาทิ ผักบุ้ง ผักตบชวา ทำการต่อสปริงเกอร์ หรือ ถ้าไม่มีก็สามารถใช้สายยางธรรมดาเตรียมไว้คอยฉีดน้ำให้บ่อชุ่มชื่นอยู่เสมอ หาเศษไม้ขอนไม้ หรือทางมะพร้าวมาวางในบ่อ เพื่อให้ปูได้อยู่อาศัยหลบซ่อน จากนั้นเราก็ปล่อยปูนาลงเลี้ยง(หาได้จากธรรมชาติหรือซื้อมาก็ได้) 1 กิโลกรัม/1 บ่อ (อัตราส่วนปูตัวผู้และตัวเมียอย่างละเท่าๆกัน)
อาหารสำหรับเลี้ยงปูนา
การให้อาหารโดยใช้อาหารปลาดุกเม็ดเล็กเสริมด้วยข้าวสวยหุงสุกคลุกเคล้าให้เข้ากัน หว่านประมาณ 1กำมือในช่วงเย็นเนื่องจากปูนาจะออกหากินตอนกลางคืน และหมั่นดูแลบริเวณที่อยู่ของปูให้สะอาดโดยต้องเก็บเศษอาหารที่ปูกินไม่หมดทิ้ง และเก็บปูที่ก้ามหลุดออกเนื่องจากจะส่งผลให้โดนปูตัวอื่นมารุมทำร้ายและตายได้ และหากทิ้งอาหารหรือปูที่ตายไว้นานๆจะเกิดกลิ่นเหม็นเน่าและมีเชื้อราเกิดขึ้นทำให้ปูเกิดโรคได้ง่าย
การเพาะพันธุ์
ปูนาสามารถนำมาเพาะในโรงเพาะฟักเพื่อผลิตลูกปูวัยอ่อนได้เช่นเดียวกับปูม้า หรือปูทะเล บ่อที่ใช้จะเป็นบ่อซีเมนต์ ถังพลาสติก หรือ ตู้กระจก ก็ได้ ขนาดของบ่อก็ไม่จำกัด ขึ้นอยู่กับความสะดวกในการจัดการของแต่ละท่าน
พ่อแม่พันธุ์
พ่อแม่พันธุ์ ในระยะแรกก็คงต้องรวบรวมจากธรรมชาติ จะเริ่มเพาะจากพ่อแม่พันธุ์ก็ได้ หรือจะใช้แม่ปูที่มีไข่ที่จับปิ้งและมีลูกปูวัยอ่อนที่ติดกระดองอยู่แล้วมา อนุบาล ก็จะประหยัดเวลาและต้นทุนในการผลิตได้มาก
การอนุบาลลูกปู
ในช่วง15วันแรก ควรให้ ไรแดง หนอนแดง เทา หรือไข่ตุ๋น กินเป็นอาหาร หลังจากนั้นควรให้ปลาหรือกุ้งสับอาหารเม็ดที่ใช้เลี้ยงลูกปลาดุกก็ใช้ได้ เมื่อมีอายุประมาณ30วันก็สามารถนำไปปล่อยเลี้ยงในบ่อดินหรือบ่อซีเมนต์เพื่อ ให้มีขนาดโตเต็มวัยได้ความหนาแน่นที่ปล่อยเลี้ยง ลูกปูในระยะนี้ควรปล่อยเลี้ยงในปริมาณ 10,000 ตัว/เนื้อที่1 ตารางเมตร
การเจริญเติบโต
ปูนามีการเจริญเติบโตโดยการลอกคราบเช่นเดียวกับปูชนิดอื่น ๆ หลังจากฟักเป็นตัวแล้วปูนาจะลอกคราบประมาณ 13-15 ครั้งก็จะโตเป็นปูเต็มวัย ได้ขนาดตามที่ตลาดการ ต้องใช้เวลาประมาณ 6-8 เดือนการลอกคราบ
ปูที่จะลอกคราบสังเกตได้จากรอยต่อทางส่วนท้ายของกระดองจะกว้างมากกว่าปกติ เมื่อใกล้จะลอกคราบปูจะนิ่งและเหยียดขาออกไปทั้งสองข้าง จากนั้นรอยต่อทางส่วนท้ายของกระดองก็จะเปิดออก ส่วนท้ายพร้อมกับขาเดินคู่สุดท้ายจะออกมาก่อน ขาคู่ถัดมาจะค่อย ๆ โผล่ออกมาตามลำดับ ส่วนก้ามคู่แรกจะโผล่ออกมาเป็นอันดับสุดท้าย ระยะเวลาที่ใช้เวลาลอกคราบทั้งหมดประมาณ1ชั่วโมง
มีผู้อ่านหลายท่านได้โทรมาถามผู้เขียนบ่อยครั้งว่า ปูนำทำปูนิ่มได้ไหม? คำตอบก็คือ ปูนาสามารถนำมาผลิตเป็นปูนิ่มได้เช่นเดียวกับปูทะเลและปูม้า ปูนานิ่มเป็นผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ และสามารถเพิ่มคุณค่าปูนาให้สูงขึ้น ปกติปูนาจะซื้อ-ขายกันกิโลกรัมละ 40 บาท แต่ถ้าเป็นผลิตภัณฑ์ปูนิ่ม ราคาก็จะสูงขึ้นถึงกิโลกรัมละ 100-200 บาทเป็นต้น ปูนานิ่มมีข้อดีที่ว่า เป็นผลิตภัณฑ์ที่สะอาด สามารถบริโภคได้ทั้งตัว มีปริมาณแคลเซียมและไคตีนต่อน้ำหนัก1 กรัมสูง เมื่อเปรียบเทียบกับปูนาทั้งตัวที่ยังไม่ลอกคราบ เหมาะสำหรับสตรี หรือผู้สูงอายุที่ต้องการแคลเซียม ไคตินและไคโตซานไปช่วยเสริมกระดูก สะดวกต่อการนำไปปรุงอาหาร ที่นิยมมากได้แก่นำไปชุบแป้งทอดกรอบ รับประทานทั้งตัว
พื้นที่ป่าในจังหวัดน่าน
สมเด็จพระเทพฯ รับสั่ง "ภูเขาเมืองน่านมันโกร๋นไปหมด" ..... เขาน่านหัวโล้น ไม่ใช่เพิ่งจะเกิด ในหลวงทรงทราบถึงปัญหา ป่าบนเขาในจังหวัดน่าน ถูกเผาทำลาย เพื่อทำไร่ ปลูกข้าวโพด และปลูกพืชต่างๆ ทำให้จังหวัดน่าน มีพื้นที่เขาหัวโล้น และมลพิษที่เกิดจากการเผาป่า อยู่เป็นจำนวนมาก ป่าไม้ในจังหวัดน่านลดลงไป อย่างต่อเนื่อง ทรงมีรับสั่งให้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เร่งฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าไม้ให้คืนสู่สมดุล โดยเร็วที่สุด จึงมีพระราชดำริให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือกันในการจัดประชุมสัมมนา “รักษ์ป่าน่าน”
ป่าน่านหายไปอย่างรวดเร็ว จากป่าเขียวกลายเป็นพื้นที่ว่างเปล่าและแนวโน้มลดลดต่อเนื่อง บวกกับข้อมูลน่าตกใจช่วง 5 ปีหลัง น่านสูญเสียป่า 1 แสนไร่ต่อปี เพราะการปลูกพืชเชิงเดี่ยว เช่น ข้าวโพด ยางพารา ส่งผลกระทบป่าต้นน้ำ กลายเป็นเขาหัวโล้นทั้งจังหวัด
นายแบงก์ใหญ่ บัณฑูร ล่ำซำ เข้ามีบทบาท โดยชักชวนเกษตรกรน่าน ที่รุกเขตป่าสงวน คืนพื้นที่ไร่ข้าวโพดเป็นผืนป่าเกิดขึ้นอีกครั้ง ในกิจกรรม "คืนป่าน่าน" ภายใต้ โครงการรักษ์ป่าน่าน ธนาคารกสิกรไทย เป็นผู้สนับสนุนหลัก เพื่อหยุดยั้งการขยาย พื้นที่เพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว และการรุกผืนป่าไปเรื่อยๆ โดยจะมีการชดเชย ค่าลงทุนการปลูกพืชที่ลงไป และให้เงินสนับสนุนการดำรงชีพ ในพื้นที่เพาะปลูกพืชแบบเดิม แต่เนื้อที่น้อยลง ควบคู่กับการประคับประคอง เสริมสร้างความเข้งแข็ง และการให้ความรู้เพิ่มทักษะอาชีพเพื่อเปลี่ยนระบบการผลิตด้วย
ครัวเรือน ที่จับจองป่าสงวนเป็นที่ทำกิน มาก่อนแล้ว 734 ไร่ สมัครใจคืนผืนดินที่เป็นป่าสงวนให้กับประเทศ 300 ไร่
เสี่ยปั้น บัณฑูร บรรยายเกี่ยวกับยุทธศาสตร์รักษ์ป่าน่าน มีทั้งสถานการณ์ป่าไม้เมืองน่าน และลงลึกรายละเอียด แต่ละเรื่องที่ภาคเอกชนหนุน การคืนผืนป่าจะทำอย่างไร ทั้งยังชักชวนศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการบริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ และประธานคณะผู้บริหาร บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น มาให้เห็นกรรมวิธี การคืนผืนป่า ในฐานะบริษัทอุตสาหกรรมการเกษตรรายใหญ่ ที่มีบทบาทสำคัญต่อ การเกษตรจังหวัดน่าน
ป่าต้นน้ำน่าน เพิ่งถูกหยิบยกขึ้นมา เป็นวาระระดับชาติ รัฐบาลลุงตู่ มีนโยบายและมาตรการแก้ปัญหา ที่ผ่านมา ไม่มีใครพูดถึง แม้แต่ในในกลุ่มนักอนุรักษ์ ทั้งที่เกิดภาวะวิกฤติน้ำ ในไทย 5 ปีที่ผ่านมา ความเสียหายของป่าต้นน้ำน่าน หนึ่งในแม่น้ำสายสำคัญ ส่งมวลน้ำกว่าร้อยละ 40 ของแม่น้ำเจ้าพระยา ถูกทำลาย 1-1.5 แสนไร่ต่อปี ผลสำรวจจากไทยโชต ไม่มีการระงับยับยั้งการสูญเสีย และปัจจัยการสูญเสียป่ายังอยู่ครบถ้วน พื้นที่ป่าสงวนน่าน ปี 2530 มีพื้นที่ 29,485 ไร่ ปี 2556 พื้นที่ป่าสงวนจริงเหลือ 17,975 ไร่ ใน 26 ปี ป่าสงวนถูกตัดไป 11,510 ไร่ หรือร้อยละ 39
ไม่ใช่แค่ป่าน่านเท่านั้น แต่พื้นที่ป่าภาคเหนือและป่าอื่นๆ ถูกทำลายต่อเนื่องเช่นกัน การตัดไม้ทำลายป่าขึ้นกับหลายปัจจัย กลุ่มนายทุนยึดป่ามาทำรีสอร์ต ทำสนามแข่งรถ
เจ้าสัวปั้น บัณฑูร เชิญชวนภาคเอกชน ช่วยเหลือด้านความรู้ เทคโนโลยี เงินทุน เชื้อเชิญเกษตรกรทดลองรูปแบบใหม่ ไม่ทำเกษตรเชิงเดี่ยวในวังวนแบบเดิม ปีที่ 1 คืนป่ามีการชดเชย ช่วงเวลาเปลี่ยนถ่าย ปีที่ 2-4 จัดซื้อเมล็ดพันธุ์พืช/สัตว์สร้างผลผลิตมาตรฐานสูง ถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยีการผลิตครบวงจร สนับสนุนเครื่องมือการเกษตร รวมถึงส่งเสริมการตลาด การออกแบบสินค้า หนุนเงินดำรงชีพเบื้องต้น รับซื้อผลผลิตและรับประกันรายได้ สานต่อความร่วมมือสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน และฟื้นฟูป่าให้สมบูรณ์ดังเดิม ปีที่ 5 เป็นต้นไป มีการพัฒนาสินค้ามาตรฐานสูง การส่งเสริมอาชีพรอง พร้อมสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ เกษตรกรยืนได้ด้วยตนเอง ภาคเอกชนจะสนับสนุนแนวคิดนี้ให้เป็นจริง
ล่าสุดกรมชลประทาน ตื่นตัวทบทวน โครงการพัฒนาแหล่งน้ำในน่าน 16 โครงการ แต่น้ำหยดแรก จะไหลลงอ่างเร็วสุดในอีก 2 ปีข้างหน้า เชื่อว่าจะช่วยระบบจัดการน้ำ มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ปฏิเสธไม่ได้ว่าเหตุดอยหัวโล้น เกิดจากบริษัทเอกชนเข้ามา ส่งเสริมการเพาะปลูกข้าวโพด และหนึ่งในบริษัท ที่มีบทบาทต่อการเกษตรจังหวัดน่าน คือ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ที่จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดอาหารสัตว์และรับซื้อขายพืชไร่
ศุภชัย ยืนยันว่า ต่อไปการจัดซื้อข้าวโพด จะต้องตรวจสอบได้ว่า ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และป่าต้นน้ำ มีส่วนแบ่งตลาดที่ 25% ทีเหลือเป็นธุรกิจอาหารสัตว์รายที่ใหญ่กว่า ราว 4-5 บริษัท
ที่มา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)